งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ

2 พ.ศ. 2553 กระทรวงสาธารณสุขตกลงเห็นด้วยกับข้อเสนอการ กำจัดโรคหัด ซึ่งเป็นหัวข้อปรึกษาหารือร่วมกับ ประเทศอื่นในภูมิภาคในการประชุม World Health Assembly 2009 กระทรวงสาธารณสุข อนุมัติแผนดำเนินโครงการกวาด ล้างโปลิโอและโรคหัด พ.ศ และให้ กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานประสานงาน มีกรมต่างๆ ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ และสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3 วัตถุประสงค์การดำเนินการ
ลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหัดในประเทศไทยไม่เกิน 1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคน ในปี (ไม่เกิน 5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2558)

4 การกำจัดโรคหัด เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในทุกพื้นที่ จัดตั้ง เครือข่ายการตรวจเชื้อหัดทางห้องปฏิบัติการ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานทั่วประเทศ เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคหัด โดยมีการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคทางห้อง ปฏิบัติการในผู้ป่วยที่สงสัยโรคหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ในทุกพื้นที่ รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด หรือมาตรการเสริมอื่น เช่น การบริการวัคซีน ในประชากรวัยทำงาน เพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากรกลุ่มเสี่ยง

5 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

6 การกำจัดโรคหัด (measles elimination)
การไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ

7 การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 1. อัตราการรายงาน 1.1. มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนปชก.ระดับประเทศ (1,270 รายต่อปี) มีรายงาน 2,452 ราย (3.9 ต่อแสนปชก.) 1.2. มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 1 ต่อแสนปชก. จากทุกอำเภอของประเทศ มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดจาก 573 อำเภอ (62% ของอำเภอทั้งหมดในประเทศ)

8 การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 2. การตรวจยืนยันทางห้อง ปฏิบัติการ มีการส่งตรวจ measles IgM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง (ไม่นับผู้ป่วยในเหตุการณ์การระบาด) ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยแต่ละรายในระบบเฝ้าระวังกับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

9 การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 3. การตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัส มีการส่งตรวจ วิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด ยังไม่มีการเชื่อมโยงเหตุการณ์การระบาดกับผลการตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสเท่าที่ควร

10 การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 4. การสอบสวนโรค มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายแรกของพื้นที่, รายที่มีอาการรุนแรง, อายุน้อยกว่า 9 เดือน, เหตุการณ์การระบาด

11 ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน
ระบบปกติ (รายงาน 506) โครงการกำจัดโรคหัด 1. นิยามผู้ป่วยสงสัย ที่ต้องรายงาน ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / Conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย 2. การรายงานผู้ป่วยทันที Severe, admitted, death อายุน้อยกว่า 9 เดือน ทุกรายที่มา ร.พ. การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10 !!!

12 ระบบปกติ (รายงาน 506) โครงการกำจัดโรคหัด 3. การสอบสวนโรคและการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ - Severe, Death, อายุน้อยกว่า 9 เดือน, cluster, รายแรก สอบสวนเฉพาะรายทุกรายที่มา รพ. (Measles IgM ทุกราย) สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (Measles IgM 10 – 20 ราย + 5 Throat swab) 4. ฐานข้อมูล R506: ข้อมูลทั่วไป, วันเริ่มป่วย, วันรับรักษา, ผลการรักษา ME เพิ่มตัวแปรประวัติวัคซีน, ประวัติสัมผัสโรค, ผล lab การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10 !!!

13 นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria)
มีไข้ > 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อมทั้งมีอาการไอ (Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ มีน้ำมูก (Coryza) เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น

14 นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture

15 ประเภทผู้ป่วย 1. ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการ ตามเกณฑ์ทางคลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด 3. ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน 2. ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

16 นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด
ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจำ ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อนสนิท

17 การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง เพื่อการกำจัดโรคหัด
ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

18 เมื่อแพทย์พบผู้ป่วยหัดที่สถานบริการ
ให้เจาะเลือดส่งตรวจ measles IgM ทุกราย - ระยะเวลาเจาะเลือดที่ดีที่สุด คือหลังผื่นขึ้น 4 – 30 วัน - หากผู้ป่วยมาเร็วมาก เช่น 1 วันหลังผื่นขึ้น ยังไม่ต้องเจาะเลือด อาจนัดมาเจาะเลือดภายหลัง หรือแจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาให้ติดตามในพื้นที่ ส่งเลือดที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ การตรวจไม่เสียค่าใช้จ่าย (รพ.มีค่าใช้จ่ายเฉพาะการเจาะเลือด และจัดส่ง) แจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาเพื่อดำเนินการสอบสวน และรายงานต่อไป

19 ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง
ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIH กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

20 เมื่อเจ้าหน้าที่ระบาด ได้รับรายงานผู้ป่วย
สอบสวนเฉพาะราย (case investigation) สอบสวนผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่เข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาล ทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกราย ได้แก่ Measles IgM เพื่อทราบรายละเอียดของการเจ็บป่วย ยืนยันการวินิจฉัยโรค และ ตรวจสอบการระบาดที่อาจจะมีอยู่ในชุมชน

21 เมื่อสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายแล้ว ให้รายงานเข้าฐานข้อมูลสำนักระบาดวิทยา
เข้า website สำนักระบาดวิทยา  โครงการกำจัดโรคหัด  ฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด กรอกข้อมูลการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หรือการระบาด รวมทั้งข้อมูลวันที่เจาะเลือด เมื่อมีผลการเจาะเลือดแล้ว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะ รายงานให้ทราบทาง website นี้

22 การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัด
ตรวจหา IgM ด้วยวิธี ELISA (ผู้ป่วยทุกราย) เจาะเลือดครั้งเดียว ช่วง 4-30 วัน หลังผื่นออก เจาะ 3-5 มล. ดูด serum ส่งกรม/ศูนย์วิทย์ฯ ภายใต้ระบบลูกโซ่ความเย็น (ไม่ควรเก็บ serum ไว้นานเกิน 3 วัน) รายงานผลได้ภายใน 48 ชั่วโมง

23 เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่
มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิด มีอาการป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจ Measles IgM ให้ผลบวก ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียน

24 การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด (outbreak investigation)
กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้ทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค

25 การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัด รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน
(เฉพาะเมื่อสอบสวนการระบาดที่เป็นกลุ่มก้อน) Throat swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก Nasal swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน

26 ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง
ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIH กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

27 รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) ประเทศไทย 2556
ลำดับ จังหวัด สถานที่ จำนวน (คน) อายุ วันเริ่มป่วย ลักษณะประชากร 1 ราชบุรี ศูนย์พักพิงบ้านถ้ำหิน 13 6 เดือน - 38 ปี 3 ม.ค.-12 ก.พ. กระเหรี่ยง โรคระบาดจากพม่า 2 สุรินทร์ โรงเรียนบ้านโจรก 8 11-13 ปี 10 – 22 ก.พ. เด็กไทย 3 แม่ฮ่องสอน ศูนย์พักพิง แม่ลามาหลวง 23 6 เดือน - 44 ปี 7 มี.ค.-24 เม.ย.

28 รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) ประเทศไทย 2556
ลำดับ จังหวัด สถานที่ จำนวน (คน) อายุ วันเริ่มป่วย ลักษณะประชากร 4 ตาก โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 7 1-6 ปี 15 มี.ค.-14 เม.ย. ชายแดนพม่า, Low vaccine coverage 5 นครปฐม เรือนจำ 10 22-31 ปี 30 เม.ย.-5 พ.ค. ชายไทย 6 มหา สารคาม 26 20-34 ปี 25 มี.ค. – 6 มิ.ย.

29 วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค
วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพ ในการป้องกันโรค แต่ ไม่ได้เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพในการควบคุมโรค

30 การให้บริการวัคซีน 2558 ไม่ต้องให้
ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน MMR ในอดีต แล้วให้วัคซีน MR ครั้งนี้* ดังตาราง ประวัติการได้รับวัคซีน ในอดีต การให้วัคซีนครั้งนี้ ไม่เคยได้รับวัคซีน/ไม่ทราบ 1 เข็ม แล้วให้อีก 1 ครั้งเมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 เคยได้ 1 เข็ม 1 เข็ม (ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน) เคยได้ 2 เข็ม (เข็มสุดท้ายอายุตั้งแต่ 18 เดือน) ไม่ต้องให้ วัคซีน MR ครั้งนี้* : เด็กเกิด 1 มิย. 51 ถึง 31 มค. 55

31 เกณฑ์การระบาด พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 2 ราย ภายในระยะเวลา 14 วัน
ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคล รวมกันเป็นจำนวนมาก

32 แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด
 เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

33 > 95% < 95% หรือ ไม่สามารถประเมิน หรือ ไม่แน่ใจ
การระบาดในเด็กก่อนวัยเรียน (อายุต่ำกว่า 7 ปี) ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด/MMR > 95% < 95% หรือ ไม่สามารถประเมิน หรือ ไม่แน่ใจ ติดตามเด็กเฉพาะราย ที่ยังไม่ได้รับวัคซีน มารับวัคซีนทันที  ให้ MMR แก่เด็ก > 9 เดือน ถึง 6 ปี ทุกคน ในหมู่บ้าน + หมู่บ้านที่มีการถ่ายทอดโรค  ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก  ไม่ให้ MMR แก่เด็ก < 9 เดือน แต่ให้แยกเลี้ยงเด็ก เพื่อไม่ให้เด็กคลุกคลีกับผู้ป่วย

34 แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด
 เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

35 การระบาดในเด็กวัยเรียน (ป.1 - ม.6)
ตรวจสอบประวัติการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1** ของเด็กแต่ละคนทุกชั้นเรียน ดูหลักฐานยืนยัน ได้รับ ไม่ได้รับ/ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ ไม่ต้องให้ MMR  ให้ MMR  ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ** เด็กที่มีหลักฐานว่าได้ MMR เมื่ออายุ 4-6 ปี ไม่ต้องให้ MMR ในการควบคุมโรค

36 แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด
 เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

37 อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ
การระบาดในผู้ใหญ่ ประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุตาม “แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR ในการควบคุมโรค” 1. ผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนปี 2533 กลุ่มอายุ & ขอบเขตการให้วัคซีน ขึ้นอยู่กับผลการสอบสวน และแบบประเมินฯ อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ < 2 % > 2 % ไม่ให้ MMR ให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์

38 การระบาดในผู้ใหญ่ (ต่อ)
การระบาดในผู้ใหญ่ (ต่อ) 2. ผู้ใหญ่ที่เกิดตั้งแต่ปี 2533 ตรวจสอบการได้รับ MMR เมื่อเข้า ป.1 ประวัติวัคซีน MMR เมื่อเข้า ป.1 ได้รับ ไม่เคยได้รับ/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ ไม่ให้ MMR ให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์

39 แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด
- ไม่แนะนำให้วัคซีนเพื่อการควบคุม โรคหัด - ให้ดำเนินการแบบระยะก่อนเกิดโรค เกิดการระบาดโรค ระยะฟักตัว > 1 เดือน 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

40 ข้อแนะนำสำหรับพื้นที่ที่ไม่มีการระบาด
มีโรคหัดเกิดขึ้นในพื้นที่ สสอ./สสจ แจ้ง พื้นที่ใกล้เคียง ค้นหากลุ่มเสี่ยง ตรวจสอบประวัติได้รับวัคซีน เด็กในพื้นที่ทุรกันดาร เด็กด้อยโอกาส เด็กแรงงานต่างชาติ  เด็กก่อนวัยเรียน  เด็กวัยเรียน (ป.1 – ม.6) ให้ MMR ตามประวัติการได้รับวัคซีน ให้ MMR ทุกคน

41 มาตรการด้านวัคซีน ในระยะต่อไป

42 ข้อเสนอมาตรการในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
เพิ่มและรักษาระดับภูมิคุ้มกันในเด็ก ปรับอายุการให้วัคซีน MMR เข็มที่สอง จากเดิมให้บริการในชั้น ป.1 ปรับให้เร็วขึ้น เป็นอายุ 2 ปีครึ่ง (พร้อม JE3)

43 ข้อเสนอมาตรการในบุคคลอายุมากกว่า 5 ปี
ติดตามให้วัคซีนในนักเรียนประถมและมัธยม และออกบัตรรับรองการได้รับวัคซีน ทำข้อตกลงกับกระทรวงศึกษาธิการ ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนเมื่อเข้าเรียนทุกระดับชั้น (อนุบาล ถึง ปริญญา) รณรงค์ Mop up วัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่ที่อยู่รวมกันจำนวนมาก เช่น ในโรงงาน ค่ายทหาร

44 สำเนาคู่ฉบับ ที่ สธ ๐๔๒๒.๓/ว 356 กระทรวงสาธารณสุข
ที่ สธ ๐๔๒๒.๓/ว 356 กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ 9 กรกฎาคม ๒๕๕๗ เรื่อง การปรับอายุของเด็กในการให้วัคซีน MMR เข็มที่ ๒ จากอายุ ๗ ปี เป็นอายุ ๒ ปีครึ่ง เรียน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด สิ่งที่ส่งมาด้วย เอกสารกำกับยาวัคซีน PriorixTM (วัคซีนป้องกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน) จำนวน 5 แผ่น เอกสารกำกับยาวัคซีน M-M-R II (วัคซีนป้องกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน) จำนวน 6 แผ่น ตัวอย่างแบบฟอร์มขอเบิกวัคซีนในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (แบบ ว.3/1)จำนวน 1 แผ่น

45 เรื่อง โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน
ที่ สธ ๐๔๒๒.๓/ กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ ธันวาคม 2556 เรื่อง โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน เรียน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด สิ่งที่ส่งมาด้วย 1. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน จำนวน 1 ชุด 2. สำเนาหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด่วนที่สุด ที่ ศธ 04188/ ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2556 จำนวน 1 แผ่น 3. สำเนาหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด่วนที่สุด ที่ ศธ 04188/707 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2556 จำนวน 1 แผ่น 4. แนวทางการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน จำนวน 1 ขุด 5. ตัวอย่าง “บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียน ชั้น ป. 6” จำนวน 1 แผ่น

46 “ร่าง” บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป. 6
ด้านหลัง ด้านหน้า


ดาวน์โหลด ppt โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google