งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงานภาคีคนไทยไร้พุง จรัล สามิบัติ นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่

2

3

4

5 การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
อปท. อารมณ์ สสจ ขับเคลื่อน พัฒนา สนับสนุน ช่วยเหลือ อาหาร คนไทยไร้พุง องค์กรทั่วไป กรม์อนามัย โรงเรียน ออกกำลังกาย

6 กิจกรรมการดำเนินงานระดับจังหวัด
1.การจัดตั้งคณะทำงานหลัก (CORE TEAM) 2.การคัดเลือก อปท/องค์กร/โรงเรียน ร่วมโครงการ 3.จัดทำแนวทางรวบรวมข้อเสนอขององค์กรที่เข้าร่วมโครงการ 4.พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย 5.รนรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างกระแสสังคม 6.รวบรวมผลการเฝ้าระวังคนไทยไร้พุง น้ำหนักส่วนสูง รอบเอว 7.รวบรวมลการประเมินพฤติกรรมสุขภาพของคนในองค์กร 8.ติดตาม กำกับ สนับสนุนและประเมินผล 9.ถอดบทเรียนแห่งความสำเร็จของการดำเนินงาน 6

7 ผลการดำเนินงาน นโยบายสร้างเสริมสุขภาพ
การรนรงค์สื่อสารสาธารณะเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกาย การศึกษาวิจัยด้านการสร้างเสริมสุขภาพ จำนวนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ จังหวัดที่มีการบูรณาการสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่

8 ผลการดำเนินงาน จังหวัดที่มีกลไกการ บูรณาการสร้างเสริมสุขภาพ
มีโครงการรองรับในระดับจังหวัดและการจัดสรรทรัพยากรจากภาคส่วนต่างๆในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ องค์กรเข้าร่วมเป็นองค์กรต้นแบบคนไทยไร้พุงครบตามเป้าหมาย

9 ผลการดำเนินงาน ประชากรกลุ่มเป้าหมายในชุมชนไร้พุงได้รับการพัฒนาศักยภาพและทักษะการสร้างเสริมสุขภาพสู่คนไทยไร้พุงครบตามเป้าหมาย อย่างน้อย 35,000 คน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล น้ำหนัก ส่วนสูงและวัดรอบเอว การบริหารจัดการ การดำเนินงานและระบบการติดตามประเมินผลและสนับสนุนอย่างมีประสิทธิภาพ

10 ผลการดำเนินงาน มีผลการสรุปถอดบทเรียนความสำเร็จของการขับเคลื่อนองค์กรและชุมชนเป็นองค์กรไร้พุงต้นแบบ

11 ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารจัดการ
การสื่อสาร ผู้บริหารสนับสนุน การวางแผนและบริหารจัดการ ภาคี/เจ้ามือ/เจ้าภาพ ภารกิจโครงการ Knowledge Management ความพอใจของลูกค้า การพัฒนาบุคลากร การสนับสนุน การติดตามและวิจัยประเมินผล

12 ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
การ ADVOCATE ผู้บริหารองค์กรไร้พุงอย่างต่อเนื่อง จนสามารถให้องค์กรกำหนดเป็นนโยบายด้านการส่งเสริมสุขภาพ การสื่อสารเชิงกว้างและพัฒนาสร้างความเข้มแข็งของชมรมภาคีเครือข่ายสื่อมวลชนท้องถิ่น การพัฒนาศักยภาพและทักษะการดำเนินงานคนไทยไร้พุงขององค์กรภาคีเครือข่าย กระบวนการวางแผนอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนในองค์กรคนไทยไร้พุง การพัฒนาศักยภาพและทักษะของประชากรกลุ่มเป้าหมายให้สามารถตั้งเป้าหมายการดูแลสุขภาพไม่ให้น้ำหนักเกินและอ้วนลงพุงพร้อมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายได้อย่างสอดคล้องกับวิถีชีวิต

13 ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
การวิเคราะห์ข้อมูล ความเชื่อมโยงของข้อมูลกับการบูรณาการงานที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาระบบข้อมูลและโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับองค์กรและชุมชนคนไทยไร้พุง เพื่อการติดตามและประเมินผล

14 ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
การจัดการความรู้ Knowledge Management เรื่องคนไทยไร้พุงแบบบูรณาการ สำหรับCORE TEAM ทุกระดับระดับอย่างต่อเนื่อง การสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายและกำหนดบทบาทความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานให้ชัดเจน พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่ดี พัฒนากระบวนการบริหารความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย

15 ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
การพัฒนาเทคโนโลยี่และนวัตกรรมด้านอาหารท้องถิ่นและการเคลื่อนไหวร่างกายที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตตามบริบทขององค์กรและชุมชน การพัฒนาชมรมสร้างสุขภาพและแกนนำคนไทยไร้พุงในองค์กร/ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม การจัดตั้งหรือพัฒนาศูนย์การเรียนรู้คนไทยไร้พุงในชุมชน การนิเทศติดตามและสนับสนุนเชิงวิชาการอย่างต่อเนื่องจนถึงระดับองค์กรคนไทยไร้พุงยังคงมีความจำเป็น

16 ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน สำหรับทีมงานระดับจังหวัด/ศูนย์เขต/กรมอนามัย
การพัฒนาทีมงานอย่างต่อเนื่องสู่ภาวะการเป็นผู้นำการดำเนินงานคนไทยไร้พุง การพัฒนาทักษะบุคลากรที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง การสร้างบรรยากาศการทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข การสร้างขวัญและกำลังใจให้ทีมงานคนไทยไร้พุง

17 การดำเนินงานคนไทยไร้พุงระดับเขต
1.การสรุปผลการดำเนินงาน ทบทวนองค์ ความรู้ และการจัดทำ KM/COP สำหรับCORE TEAM ของศูนย์อนามัยเขต 7.การสนับสนุนวิชาการ / KM สำหรับ CORE TEAM จังหวัดอย่างต่อเนื่อง 8. การสร้างกระแสคนไทยไร้พุงในระดับจังหวัดอย่างต่อเนื่อง 2. การประสานงาน CORE TEAM สสจ.อย่างสม่ำเสมอ 9.การสุ่มเยียมติดตามผลดำเนินงานตามแผนขององค์กรคนไทยไร้พุงที่เป็นองค์กรหลัก 3. พัฒนาระบบข้อมูล/ระบบเฝ้าระวังและระบบรายงาน 4. การนิเทศงานผู้เกี่ยวข้อง ระดับจังหวัด 10.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ นำเสนอผลงาน 5. การประชุมทีมงานจังหวัดเป็นประจำ 11. การสรุปผลกรดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงาน 6. การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ประโยชน์ของคนไทยไร้พุง

18 ROAD MAP การดำเนินงานคนไทยไร้พุงระดับจังหวัด
1.การประชุมพัฒนาและ ทบทวนองค์ ความรู้ CORE TEAM บูรณาการของจังหวัด 7.การสุ่มประเมินคนไทยไร้พุงองค์กรหลัก 2. การประชุม KM ระดับจังหวัดอย่างต่อเนื่อง 8. การประเมินพฤติกรรมสุขภาพของประชากรกลุ่มเป้าหมายในองค์กรคนไทยไร้พุง 3. ประชุมประเมินผลการดำเนินงานครึ่งปีและทบทวนปรับปรุงแผนการดำเนินงานในครึ่งปีหลัง 9. การจัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์กรคนไทยไร้พุงระดับจังหวัด 4. การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และสร้างกระแสคนไทยไร้พุงอย่างต่อเนื่อง 10.การประเมินผล 5. การร่วมอบรมแกนนำคนไทยไร้พุงในองค์กรด้าน อารมณ์ การออกกำลังกาย อาหารและโภชนาการ 11.การนำเสนอผลการดำเนินงาน 6. การประชุม/นิเทศงานคนไทยไร้พุงองค์กรหลักทุกเดือน

19 ROAD MAP การดำเนินงานคนไทยไร้พุงระดับองค์กร
1.การประชุมพัฒนาและ ทบทวนองค์ ความรู้เชิงบูรณาการ CORE TEAM ขององค์กร 7.การอบรม/ฝึกปฏิบัติแก่ประชากร กลุ่มเป้าหมาย อย่างต่อเนื่องทุกเดือน 1.การพัฒนาอารมณ์สร้างความเชื่อมั่น 2. เทคนิคการออกกำลังกายที่เหมาะสม 3.พฤติกรรมการกินอาหารคนไทยไร้พุง 2. การประชุม KM ภายในองค์กรอย่างต่อเนื่องทุกเดือน 3. ประชุมประเมินความก้าวหน้าการ ดำเนินงานครึ่งปีและทบทวนปรับปรุงแผนการดำเนินงานให้ทันเหตุการณ์ 8. การประเมินพฤติกรรมสุขภาพของประชากรกลุ่มเป้าหมายในองค์กรคนไทยไร้พุง 4. การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และสร้างกระแสคนไทยไร้พุงภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง 9. การจัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์กรคนไทยไร้พุงระดับองค์กร 5. การอบรมแกนนำคนไทยไร้พุงในองค์กรให้เป็นผู้นำในชุมชนด้าน อารมณ์ การออกกำลังกาย อาหารและโภชนาการ 10.การประเมินผล 6. การชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง/วัดรอบเอว 11.การนำเสนอผลการดำเนินงาน

20 Thank You for your attention


ดาวน์โหลด ppt นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google