งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Pas_don@hotmail.com ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร 0918827907 ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Pas_don@hotmail.com ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร 0918827907 ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 pas_don@hotmail.com ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร 0918827907
ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.

2 นโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
แนวทางการดำเนินการ นโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ปีการศึกษา 2559 ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3 - คุณภาพการศึกษาไทยต่ำ
- นักเรียนไทยเรียนภาคความรู้ความจำมากกว่าภาคปฏิบัติและมากเกินกว่า ที่หลักสูตรกำหนด - คุณภาพการศึกษาไทยต่ำ - คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษาศักยภาพ ไม่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ O-NET PISA

4 กระแสพระราชดำรัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา
กระแสพระราชดำรัสเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา แนวทางตามกระแสพระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู ให้ครูสอนเด็กให้มีน้ำใจต่อเพื่อนไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเอง ให้เด็กที่เรียนเก่งกว่าช่วยสอนเพื่อนที่เรียนช้ากว่า ให้ครูจัดกิจกรรมให้เด็กทำงานร่วมกันเพื่อให้เห็นคุณค่า ของความสามัคคี

5 ๒ ตามนโยบายของรัฐบาล - ปรับหลักสูตรและตำราเรียนให้เหมาะสม
- ปรับหลักสูตรและตำราเรียนให้เหมาะสม ปรับหลักสูตรทำให้เด็ก ครู ผู้ปกครองมีความสุข ใช้สื่อการสอน เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา มีคุณภาพเท่าเทียม เรียนไม่ใช่เพื่อสอบแต่เรียนให้ได้ทักษะ ชีวิตอยู่ ในโลกไร้พรมแดน

6 ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ เบนจามิน บลูมและคณะ(Bloom et al, 1956) ได้จำแนกจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ออกเป็น ๓ ด้าน คือ ๑. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ๒. ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) ๓. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)

7 ๔ หลักองค์ 4 การจัดการศึกษา 1. ด้านพุทธิศึกษา 2. ด้านจริยศึกษา
3. ด้านหัตถศึกษา 4. ด้านพลศึกษา

8 กรอบแนวคิดการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ปฏิญญาสากลว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO learning to know Learning to do Learning to be Learning to live with the others มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทย ที่พึงประสงค์ เป็นคนดี มีปัญญา(คนเก่ง) และมีความสุข มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 67 มาตรฐานการเรียนรู้ เบนจามิน บลูมและคณะ (Bloom et al, 1956) 1.พุทธิพิสัย (6 ระดับ) (Cognitive Domain) 2.จิตพิสัย (5 ระดับ) (Affective Domain) 3.ทักษะพิสัย (5 ระดับ) (Psychomotor Domain) คน มีปัญญา(เก่ง) คนดี มีความสุข สมรรถนะ 5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ หมายถึง การปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนของครู โดยลดเวลาสอนด้วยการบรรยายที่เน้นความจำให้น้อยลง แต่เพิ่มเวลาและโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ตรง เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้นตามความถนัด ความสนใจ และเต็มตามศักยภาพของนักเรียน หลักองค์ 4 การจัดการศึกษา 1. ด้านพุทธิศึกษา 2. ด้านจริยศึกษา 3. ด้านหัตถศึกษา 4. ด้านพลศึกษา กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ HEAD HART HAND HALTH

9 ปฏิญญาสกลการจัดการศึกษา หลักสูตรและการสอน การประเมินผลการจัดกิจกรรม
ประเด็นการนำเสนอ Dr.Passakorn ปฏิญญาสกลการจัดการศึกษา หลักสูตรและการสอน การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ การประเมินผลการจัดกิจกรรม

10

11 UNESCO องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมฯ
ปฏิญญาสากลการจัดการศึกษา เป้าหมายการจัดการจัดการศึกษา UNESCO องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมฯ 5/1/2019 11

12 เป้าหมายการจัดการเรียนรู้

13 Learn to know : หมายถึงเพื่อรู้ทุกสิ่งทุกอย่าง อันจะเป็น ประโยชน์ต่อไปได้แก่การแสวงหาให้ได้มา ซึ่งความรู้ที่ต้องการ ต่อยอดความรู้ที่มีอยู่ และรวมทั้งการสร้างความรู้ขึ้นใหม่

14 Learn to do :  หมายถึงการลงมือทำ หรือ การประกอบอาชีพจากความรู้ที่ได้ได้รับจากการศึกษามา รวมทั้งเพื่อประกอบอาชีพในการสร้างประโยชน์ให้สังคม

15 Learn to live together :หมายถึงการดำเนินชีวิตร่วมกับคนอื่น ได้อย่างมีความสุข ทั้งในการดำเนินชีวิต ในชีวิตครอบครัว และชีวิตการทำงาน

16 Learn to be : หมายถึงการรู้จักตัวเองอย่างถ่องแท้เป็นตัวของตัวเองและ พัฒนาศักยภาพให้เต็มศักยภาพหรือพัฒนาตนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เพราะทุกคนยังสามารถที่จะดึงความรู้ ความสามารถออกมาใช้ประโยชน์ได้อีกถ้าได้รับการส่งเสริมกระตุ้นเพียงพอ

17 “ ... การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรม ในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข ...”

18

19 การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
Dr.Passakorn มาตรฐานการศึกษาชาติ การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

20 มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึง ประสงค์
มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานที่ คุณลักษณะของคนไทยที่พึง ประสงค์ มาตรฐานที่ แนวการจัดการเรียนรู้ที่มุ่ง พัฒนาผู้เรียน เป็นสำคัญ มาตรฐานที่ แนวการสร้างสังคมแห่งการ เรียนรู้หรือสังคมแห่งความรู้ เป้าหมายการจัดการเรียนรู้ Learn to know Learn to do Learn to be Learn to live together (Unessco,1998)

21

22 หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
มุ่งพัฒนาผู้เรียน คนดี มีปัญญา (คนเก่ง) มีความสุข มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 3

23 หลักสูตรฯ 2551 มุ่งพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุค ศตวรรษที่ 21
หลักสูตรฯ มุ่งพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุค ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รักความ เป็นไทย ให้ มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสามารถ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน

24 Learn to know คน เก่ง Learn to do K,P

25 Learn to be คนดี Learn to live together มีความสุข A A

26 Learn to know Learn to do คน เก่ง ? K,P

27 ลักษณะความเก่ง K P รู้สังคมไทย สากล ความสามารถเฉพาะทาง คิดสร้างสรรค์
รู้สังคมไทย สากล ความสามารถเฉพาะทาง คิดสร้างสรรค์ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ทันโลก ทันเทคโนโลยี เรียนรู้ด้วยตนเอง

28 Learn to be ? คนดี A

29 ลักษณะคนดี A ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพดี ทั้งจิตใจและ พฤติกรรม
ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพดี ทั้งจิตใจและ พฤติกรรม มีวินัยต่อตนเองและสังคม ควบคุมตนเองได้ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ พัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ

30 ? Learn to live together A มีความสุข

31 ลักษณะความสุข A ร่างกายแข็งแรง ร่าเริงแจ่มใส จิตใจเข้มแข็ง มีความสุขในการเรียนรู้ และการทำงาน

32

33 ความรู้(K) ทักษะ (P) คุณลักษณะฯ (A)
เป้าหมายการเรียนรู้ ความรู้(K) ทักษะ (P) คุณลักษณะฯ (A) มาตรฐานการเรียนรู้ 67 ตัวชี้วัด (ชั้นปี) 5/1/2019 33

34 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 สาระการเรียนรู้ 67 มาตรฐาน
8 สาระการเรียนรู้ 67 มาตรฐาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี

35 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓.ความสามารถในการแก้ปัญหา๔. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี

36 Writing ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 21 3R x 8C Reading Arithmetic
ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) 3R x 8C ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) Reading ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) Writing ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) Arithmetic ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) ความมีเมตตากรุณา (Compassion) (วินัย, คุณธรรม, จริยธรรม ฯลฯ)

37 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ

38 ความรู้(K) ทักษะ (P) คุณลักษณะฯ (A)
เป้าหมายการเรียนรู้ ความรู้(K) ทักษะ (P) คุณลักษณะฯ (A) มาตรฐานการเรียนรู้ 67 ตัวชี้วัด (ชั้นปี) 5/1/2019 38

39 มาตรฐานการเรียนรู้ K Head A Heart P Hand Health

40 คุณภาพผู้เรียน มาตรฐาน เป้าหมาย K : ความรู้ P : ทักษะ A : คุณลักษณะฯ
5/1/2019 40

41 K Learn to know Knowledge P A Performance Students Quality Learn to be
& live together Affective Learn to do Performance

42 สังเคราะห์ Synthesize รู้จำ Remember/Recall
Head รู้-คิด ประเมินค่า Evaluate K n o w l e d g Thinking Skills สังเคราะห์ Synthesize วิเคราะห์ Analyze นำไปใช้ Apply เข้าใจ Understand รู้จำ Remember/Recall

43 มีคุณลักณะ Characterization มีระบบค่านิยม Organization
รู้สึก A f e c t i v มีคุณลักณะ Characterization Heart มีระบบค่านิยม Organization เห็นคุณค่า Valuing ตอบสนอง Responding รับรู้ Receiving

44 ทำสร้างสรรค์Articulation
Hand รู้ทำ Health P e r f o m a n c ฝึก ฝน Naturalization ทำสร้างสรรค์Articulation ฝึก ปรือ ทำคล่อง Precision ทำเอง Manipulation ฝึก หัด ทำตาม Imitation

45 Outcome ผู้เรียน มาตรฐาน Equity For all 5/1/2019 45

46 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในปัจจุบัน
จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ ระดับการเรียนรู้ ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ๑.ความรู้ ความจำ ๒.ความเข้าใจ ๓.การนำไปใช้ ๔.การวิเคราะห์ ๕.การสังเคราะห์ ๖.การประเมินค่า O-NET PISA ผลการประเมินคุณภาพ ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) ๑.การรับรู้ ๒.การตอบสนอง ๓.การเกิดค่านิยม ๔.การจัดระบบ ๕.บุคลิกภาพ สภาพสังคมไทย สภาพตลาดแรงงานไทย ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ๑.การทำตามแบบ ๒.การทำเอง ๓.การหาความถูกต้อง ๔.การทำอย่างต่อเนื่อง ๕.การทำอย่างเป็นธรรมชาติ

47 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในปัจจุบัน
เป้าหมายการเรียนรู้ ระดับการเรียนรู้ ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) (HAED) ๑. ความรู้ ความจำ ๒. ความเข้าใจ ๓. การนำไปใช้ ๔. การวิเคราะห์ ๕. การสังเคราะห์ ๖. การประเมินค่า

48 สังเคราะห์ Synthesize รู้จำ Remember/Recall
รู้-คิด ประเมินค่า Evaluate K n o w l e d g Thinking Skills สังเคราะห์ Synthesize วิเคราะห์ Analyze นำไปใช้ Apply เข้าใจ Understand รู้จำ Remember/Recall

49 A (Affective) Learn to be & live together คุณลักษณะฯ

50 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในปัจจุบัน
เป้าหมายการเรียนรู้ ระดับการเรียนรู้ ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) (HEART) ๑. การรับรู้ ๒. การตอบสนอง ๓. การเกิดค่านิยม ๔. การจัดระบบ ๕. บุคลิกภาพ

51 มีคุณลักณะ Characterization มีระบบค่านิยม Organization
รู้สึก A f e c t i v มีคุณลักณะ Characterization มีระบบค่านิยม Organization เห็นคุณค่า Valuing ตอบสนอง Responding รับรู้ Receiving

52 P (Performance) Learn to do ทักษะ

53 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในปัจจุบัน
เป้าหมายการเรียนรู้ ระดับการเรียนรู้ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (HAND/HAELT) ๑. การเลียนแบบ/ทำตาม ๒. การลงมือปฏิบัติทำเอง ๓. การหาความถูกต้อง ๔. การทำอย่างต่อเนื่อง ๕. การทำอย่างเป็น ธรรมชาติ

54 ทำสร้างสรรค์Articulation
Hand รู้ทำ Health P e r f o m a n c ฝึก ฝน Naturalization ทำสร้างสรรค์Articulation ฝึก ปรือ ทำคล่อง Precision ทำเอง Manipulation ฝึก หัด ทำตาม Imitation

55 “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”

56 ลดเวลาเรียน การลดเวลาเรียนภาควิชาการและลดเวลาของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้ เช่น การบรรยาย การสาธิต การศึกษาใบความรู้ให้น้อยลง

57 เพิ่มเวลารู้ การเพิ่มเวลาและโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ตรง คิดวิเคราะห์ ทำงานเป็นทีม เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข จากกิจกรรม ที่หลากหลาย

58 การจัดกิจกรรม กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำ/ปฏิบัติ และได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไป 

59

60

61  การจัดกิจกรรม สมมติฐานพื้นฐาน 2 ประการ
1. การเรียนรู้เป็นความพยายาม โดยธรรมชาติของมนุษย์ 2. บุคคลมีแนวทางในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน  โดยผู้เรียนจะถูกเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับ ความรู้(receive) ไปสู่การมีส่วนร่วม ในการสร้างความรู้ (co-creators)

62 หลักสำคัญการจัดกิจกรรม Active Learning
1. ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม 2. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน 3. ออกแบบกิจกรรมใช้เทคนิค/วิธีการต่างๆ 4. ผู้สอนมีบทบาทอำนวยความสะดวก จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้เรียนสร้าง ความรู้ด้วยตนเอง

63

64

65 Outcome ผู้เรียน มาตรฐาน Equity For all 5/1/2019 65

66 “ ... การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรม ในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข ...”

67 4. จัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
4. จัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ HEAD พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) HEART จิตพิสัย (Affective Domain) HAND ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) HEALTH

68 การยกระดับคุณภาพด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
การใช้คำถามกระตุ้นการคิด Cognitive Domain HEAD

69 กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถนะและการเรียนรู้ HEAD
สร้างเสริมสมรรถนะและการเรียนรู้ประกอบด้วย 5 กลุ่มกิจกรรม 1) พัฒนาความสามารถด้านการสื่อสาร 2) พัฒนาความสามารถด้านการคิดและการพัฒนากรอบ ความคิดแบบเปิดกว้าง (Growth Mindset) 3) พัฒนาความสามารถด้านการแก้ปัญหา 4) พัฒนาความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยี 5) พัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ

70 กิจกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
HEAD Evaluation Synthesis Analysis Application Comprehension Knowledge (Remember) การประเมินค่า การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การประยุกต์ ความเข้าใจ ความรู้ที่เกิดจากความจำ Cognitive Domain

71 ด้านพุทธิพิสัย (พฤติกรรมด้านสมอง) (Cognitive Domain)
HEAD ความรู้ (Knowledge) สามารถในการจำความรู้ต่างๆ ที่ได้เรียนรู้มา ความเข้าใจ (Comprehension) สามารถในการแปลความ ขยายความในสิ่งที่ได้เรียนรู้ การนำไปใช้ (Application) สามารถในการใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้มาก่อนให้เกิดสิ่งใหม่ การวิเคราะห์ (Analysis) สามารถในการแยกความรู้ออกเป็นส่วน ทำความเข้าใจในแต่ละส่วนว่าสัมพันธ์ หรือแตกต่างกันอย่างไร การสังเคราะห์ (Synthesis) สามารถในการรวมความรู้ต่างๆ หรือประสบการณ์ต่างๆ ให้เกิดเป็นสิ่งแปลกใหม่ การประเมินค่า (Evaluation) สามารถในการตัดสินใจคุณค่าอย่างมีเหตุ มีผล

72 การยกระดับคุณภาพด้านจิตพิสัย (Effective Domain)
HEART

73 กิจกรรมสร้างเสริมคุณลักษณะและค่านิยม HEART
สร้างเสริมคุณลักษณะและค่านิยม ประกอบด้วย 4 กลุ่มกิจกรรม 1. ปลูกฝังค่านิยมและจิตสำนึกการทำประโยชน์ต่อสังคม มีจิต สาธารณะและการให้บริการด้านต่างๆ ทั้งที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเองและต่อส่วนรวม 2. ปลูกฝังความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 3. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม (มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งมั่นในการทำงาน กตัญญู) 4. ปลูกฝังความรักความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และหวงแหน สมบัติของชาติ

74 HEART จิตพิสัย (Affective Domain)

75 ด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
การรับรู้ (Recive) เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฏการณ์ หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งเป็นไปในลักษณะ ของการแปลความหมายของสิ่งเร้านั้นว่าคืออะไร แล้วจะแสดงออกมาในรูปของความรู้สึกที่เกิดขึ้น การตอบสนอง(Respond) เป็นการกระทำที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม และพอใจต่อสิ่งเร้านั้น เป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว ค่านิยม (Value) การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือในคุณค่านั้น ๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น

76 การจัดระบบ (Organize) บุคลิกภาพ (Characterize)
การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความ สัมพันธ์ ถ้าเข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไปแต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับอาจจะยอมรับค่านิยมใหม่โดยยกเลิกค่านิยม บุคลิกภาพ (Characterize) เริ่มจากการได้รับรู้จากสภาพ แวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ ขยายกลายเป็นความรู้สึกด้านต่าง ๆจนกลายเป็นค่านิยมที่ยึดถือเป็นนิสัยประจำตัว ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม

77 การยกระดับคุณภาพด้านทักษะพิสัย (Psychomotor)
HAND HEALTH Psychomotor Domain

78 กิจกรรมสร้างเสริมทักษะการทำงาน การดำรงชีพ และทักษะชีวิต
กิจกรรมสร้างเสริมทักษะการทำงาน การดำรงชีพ และทักษะชีวิต (HAND HEALTH) ประกอบด้วย 4 กลุ่มกิจกรรม 1. กิจกรรมที่ตอบสนองความสนใจ/ความถนัด/ ความต้องการของผู้เรียน  2. ฝึกการทำงาน/ทักษะทางอาชีพ/ทรัพย์สินทาง ปัญญา อยู่อย่างพอเพียง/มีวินัยทางการเงิน/ 3. พัฒนาความสามารถด้านการใช้ทักษะชีวิต 4. สร้างเสริมสมรรถนะทางกาย

79 ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) HAND, HEALTH

80 ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
HAND, HEALTH การทำตาม (Imitation) สังเกตและทำตาม การทำเอง (Manipulation) ทำเองโดยรูปแบบ/วิธีของตนเอง ความถูกต้อง (Precision) ทำได้ถูกต้อง ความคุมและลดความผิดพลาด ความชัดเจน ต่อเนื่องในการปฏิบัติ(Articulation) เรียนรู้วิธีการถูกต้องตามขั้นตอน ความเป็นธรรมชาติ (Naturalization) แสดงพฤติกรรมเป็นประจำ เป็นอัตโนมัติ จนกลายเป็นธรรมชาติ

81 การประเมินผลการจัดกิจกรรม
๓.๑ ส่วนการประเมินด้านวิชาการ และ ๓.๒ การประเมินความสุขของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ๓.๑ ส่วนการประเมินด้านวิชาการ และ ๓.๒ การประเมินความสุขของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ๓.๑ ส่วนการประเมินด้านวิชาการ และ ๓.๒ การประเมินความสุขของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ๓.๑ ส่วนการประเมินด้านวิชาการ และ ๓.๒ การประเมินความสุขของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ๓.๑ ส่วนการประเมินด้านวิชาการ และ ๓.๒ การประเมินความสุขของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ๓.๑ ส่วนการประเมินด้านวิชาการ และ ๓.๒ การประเมินความสุขของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ๓.๑ ส่วนการประเมินด้านวิชาการ และ ๓.๒ การประเมินความสุขของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ๓.๑ ส่วนการประเมินด้านวิชาการ และ ๓.๒ การประเมินความสุขของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ๓.๑ ส่วนการประเมินด้านวิชาการ และ ๓.๒ การประเมินความสุขของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ๓.๑ ส่วนการประเมินด้านวิชาการ และ ๓.๒ การประเมินความสุขของนักเรียน ผู้ปกครอง และครู การประเมินผลการจัดกิจกรรม 1. การประเมินการจัดกิจกรรม 2. การประเมินความสุขของ นักเรียน ผู้ปกครอง และครู

82 1. การประเมินการจัดกิจกรรม
1.1 ไม่มีการตัดสินผล ผ/มผ 1.2 ประเมินความก้าวหน้า/ พัฒนาการของผู้เรียน

83 1. การประเมินผลด้านพุทธิพิสัย
เป็นการประเมินผลการจัดกิจกรรมด้าน Head ให้กับผู้เรียน เป็นพฤติกรรม ที่เกี่ยวกับสติปัญญา การรู้คิด ความสามารถ ในการคิดเรื่องราวต่าง ๆ หรือความสามารถทางด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ได้พัฒนาความสามารถ ทางสมองตั้งแต่ระดับการวิเคราะห์ขึ้นไป

84 กิจกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
HEAD Evaluation Synthesis Analysis Application Comprehension Knowledge (Remember) การประเมินค่า การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การประยุกต์ ความเข้าใจ ความรู้ที่เกิดจากความจำ Cognitive Domain

85 ด้านพุทธิพิสัย (พฤติกรรมด้านสมอง) (Cognitive Domain)
HEAD ความรู้ (Knowledge) สามารถในการจำความรู้ต่างๆ ที่ได้เรียนรู้มา ความเข้าใจ (Comprehension) สามารถในการแปลความ ขยายความในสิ่งที่ได้เรียนรู้ การนำไปใช้ (Application) สามารถในการใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้มาก่อนให้เกิดสิ่งใหม่ การวิเคราะห์ (Analysis) สามารถในการแยกความรู้ออกเป็นส่วน ทำความเข้าใจในแต่ละส่วนว่าสัมพันธ์ หรือแตกต่างกันอย่างไร การสังเคราะห์ (Synthesis) สามารถในการรวมความรู้ต่างๆ หรือประสบการณ์ต่างๆ ให้เกิดเป็นสิ่งแปลกใหม่ การประเมินค่า (Evaluation) สามารถในการตัดสินใจคุณค่าอย่างมีเหตุ มีผล

86 1.4 การวิเคราะห์ เป็นความสามารถของผู้เรียนในการคิด แยกแยะเรื่องราวสิ่งต่างๆ ออกเป็นส่วนย่อยหรือองค์ประกอบที่สำคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนที่เกี่ยวข้องกัน ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิด ของแต่ละคน 1.5 การสังเคราะห์ เป็นความสามารถของผู้เรียนในการผสมผสานส่วนย่อยๆ เข้าด้วยกัน ให้เป็นเรื่องเดียวในลักษณะการจัดเรียงรวบรวมเป็นรูปแบบหรือโครงสร้างใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน 1.6 การประเมินค่า เป็นความสามารถของผู้เรียนในการตัดสินคุณค่าของสิ่งต่างๆ ทั้งเนื้อหาและวิธีการที่เกิดขึ้น อาจจะกำหนดขึ้นเองจากความรู้ประสบการณ์

87 2. การประเมินผลด้านจิตพิสัย
เป็นการประเมินผลการจัดกิจกรรม ด้าน Heartหรือจิตพิสัยเป็นคุณลักษณะภายในของคน แล้วแสดงพฤติกรรมหรือ การกระทำออกมาตามอารมณ์ ความรู้สึก ความสนใจ เจตคติ ความชื่นชมค่านิยม จนพัฒนาเป็นคุณลักษณะของตนเอง ตั้งแต่ระดับ การตอบสนอง(Respond)ขึ้นไป

88 HEART จิตพิสัย (Affective Domain)

89 ด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
การรับรู้ (Recive) เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฏการณ์ หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งเป็นไปในลักษณะ ของการแปลความหมายของสิ่งเร้านั้นว่าคืออะไร แล้วจะแสดงออกมาในรูปของความรู้สึกที่เกิดขึ้น การตอบสนอง(Respond) เป็นการกระทำที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม และพอใจต่อสิ่งเร้านั้น เป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว ค่านิยม (Value) การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือในคุณค่านั้น ๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น

90 การจัดระบบ (Organize) บุคลิกภาพ (Characterize)
การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความ สัมพันธ์ ถ้าเข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไปแต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับอาจจะยอมรับค่านิยมใหม่โดยยกเลิกค่านิยม บุคลิกภาพ (Characterize) เริ่มจากการได้รับรู้จากสภาพ แวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ ขยายกลายเป็นความรู้สึกด้านต่าง ๆจนกลายเป็นค่านิยมที่ยึดถือเป็นนิสัยประจำตัว ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม

91

92 3. การประเมินด้านทักษะพิสัย
(Psychomotor Domain) เป็นการประเมินผลการจัดกิจกรรม ด้าน Hand กับ Health พฤติกรรมด้านนี้จะเห็น ได้จากของการปฏิบัติที่แสดงออกมาให้เห็น โดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็นตัวชี้ระดับ ของทักษะ ตั้งแต่ระดับ ความถูกต้อง (Precision) ขึ้นไป

93 ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) HAND, HEALTH

94 ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
HAND, HEALTH การทำตาม (Imitation) สังเกตและทำตาม การทำเอง (Manipulation) ทำเองโดยหารูปแบบ/วิธีของตนเอง ความถูกต้อง (Precision) ทำได้ถูกต้องแม่นยำสามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องชี้แนะ ความชัดเจน ต่อเนื่องในการปฏิบัติ(Articulation) เรียนรู้วิธีการถูกต้องตามขั้นตอน ความเป็นธรรมชาติ (Naturalization) แสดงพฤติกรรมเป็นประจำ เป็นอัตโนมัติ จนกลายเป็นธรรมชาติ

95 การทบทวนหลังปฏิบัติ After action review (AAR)
ทบทวนเหตุการณ์ว่าเกิดอะไรขึ้น ทำไมจึงเกิด รักษาจุดแข็งปรับจุดอ่อนอย่างไร ทำให้ทีมได้เรียนรู้จากความสำเร็จและความล้มเหลว ไม่มีการตำหนิหรือยึดติดกับปัญหา ต้องแบ่งปันความรู้ที่ฝังลึกในคนไปสู่ความรู้ชัดแจ้ง

96 ประโยชน์ของ AAR ช่วยให้สมาชิกและทีมได้เรียนรู้กระบวนการทำงาน
สามารถทำได้ทันทีหลังเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่ทำควรมีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด ตามเป้าหมายที่วางไว้ให้ชัดเจน สามารถวัดผลดำเนินงานได้

97 แนวทางการทำ AAR มีการประชุมการทบทวนหลังปฏิบัติ AAR) ขณะที่ผู้เกี่ยวข้องอยู่ จำเหตุการณ์ได้ บทเรียนที่ได้รับสามารถประยุกต์ใช้ได้ทันที ควรระวังคือการยับยั้งสมาชิกของบุคคลภายนอก สร้างบรรยากาศที่เหมาะสม เพื่อเปิดใจที่จะเรียนรู้ ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน ใช้การประเมินผลงาน ไม่วิพากษ์วิจารณ์กัน ไม่มียศไม่มีตำแหน่ง จัดให้มี Facilitator ช่วยให้ทีมได้เรียนรู้ ไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ ระงับการกล่าวโทษ ทบทวนวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ที่ชัดเจน เพื่อให้เข้าใจตรงกันและได้ผลตามที่ต้องการ

98 แนวทางการทำ AAR ตอบคำถาม 1) สิ่งที่คาดหวังให้เกิดขึ้นคืออะไร ) สิ่งที่เกิดขึ้นจริงคืออะไร ) ทำไมจึงมีความแตกต่าง ) ได้เรียนรู้อะไร เพื่อวันต่อไปจะได้ทำให้ดีขึ้น ทบทวนว่าเกิดอะไรขึ้น โดยการค้นหาความจริงเพื่อดูว่ามีปัญหาอะไรบ้าง เปรียบเทียบแผนกับความเป็นจริง บันทึกผลการประชุม AAR ในประเด็นที่สำคัญสำหรับการเรียนรู้ของทีม การแบ่งปันการเรียนรู้

99 Outcome ผู้เรียน มาตรฐาน Equity For all 5/1/2019 99

100


ดาวน์โหลด ppt Pas_don@hotmail.com ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร 0918827907 ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google