งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
การประเมินผล ปิยพร เสาร์สาร นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

2 การประเมินศักยภาพชุมชน
ตาราง 11 ช่อง ค่ากลางที่คาดหวัง

3 แผนปฏิบัติการ สร้างจาก SLM เฉพาะส่วนที่กำหนดโดย Road Map
สำหรับระยะที่ 1 ของการปฏิบัติการตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แสดงกิจกรรมสำคัญที่ควรทำ ส่วนงานหรือการกระทำกำหนดโดยคณะผู้รับผิดชอบที่กำหนดตามที่ตกลงกัน ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามประเด็นที่กำหนดโดย SLM ประชาชน จัดเวทีสมัชชาสุขภาพเพื่อสร้างมาตรการทางสังคม สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน จัดเวทีประชาคมทำแผนงานโครงการร่วมกับท้องถิ่น ภาคี เตรียมการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร (สธ/ท้องถิ่น) กระบวนการ สร้างแผนปฏิบัติการ ตามประเด็นวางตัวผู้รับผิดชอบ (ทำที่ตำบล) -1.สอนการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ อย่างสังเขป -2.ปรับ SLM ร่วม 2 กรมตามประเด็น สร้างตาราง 11 ช่อง (ทำที่อำเภอ) พื้นฐาน

4 แผนปฏิบัติการ สร้างจาก SLM เฉพาะส่วนที่กำหนดโดย Road Map
สำหรับระยะที่ 1 ของการปฏิบัติการตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 3 กรกฎาคม 52 แสดงกิจกรรมสำคัญที่ควรทำ ส่วนงานหรือการกระทำกำหนดโดยคณะผู้รับผิดชอบที่กำหนดตามที่ตกลงกัน 4 เปิดงาน ใช้กระบวนการสร้างบทบาทประชาชน(ทำที่ตำบล) ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามประเด็นที่กำหนดโดย SLM กำหนดแล้วเสร็จ ก.ย.52 กำหนดแล้วเสร็จ ก.ย.52 ประชาชน จัดเวทีสมัชชาสุขภาพเพื่อสร้างมาตรการทางสังคม สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน 3 ปรับใช้แผนปฏิบัติการ กับโครงการของ อบต.(ทำที่ อบต) จัดเวทีประชาคมทำแผนงานโครงการร่วมกับท้องถิ่น 24 มิถุนายน 52 ภาคี 2 เตรียมการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร (สธ/ท้องถิ่น) สร้างแผนปฏิบัติการ วางตัวผู้รับผิดชอบ (ทำที่ตำบล) 24 มิถุนายน 52 กระบวนการ สร้างแผนปฏิบัติการ ตามประเด็นวางตัวผู้รับผิดชอบ (ทำที่ตำบล) 1 22 มิถุนายน 52 1.สอนการสร้างและใช้ แผนที่ฯยุทธศาสตร์ (สังเขป) 2. ปรับ SLM ฉบับนี้ตามบริบท สร้างตาราง 11 ช่อง (ทำที่อำเภอ) -1.สอนการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ อย่างสังเขป -2.ปรับ SLM ร่วม 2 กรมตามประเด็น สร้างตาราง 11 ช่อง (ทำที่อำเภอ) พื้นฐาน

5 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
แสดงเส้นทาง Road Map (สีแดง) และกระบวนงานที่แนะนำ (สีเขียว) 4 3 กรกฎาคม 52 เปิดงาน ใช้กระบวนการสร้างบทบาทประชาชน(ทำที่ตำบล) กำหนดแล้วเสร็จ ก.ย.52 กำหนดแล้วเสร็จ ก.ย.52 ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชาชน ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม 3 ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ ปรับใช้แผนปฏิบัติการ กับโครงการของ อบต.(ทำที่ อบต) 24 มิถุนายน 52 กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง 2 สร้างแผนปฏิบัติการ วางตัวผู้รับผิดชอบ (ทำที่ตำบล) การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ กระบวนการ 24 มิถุนายน 52 ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ 1 1.สอนการสร้างและใช้ แผนที่ฯยุทธศาสตร์ (สังเขป) 2. ปรับ SLM ฉบับนี้ตามบริบท สร้างตาราง 11 ช่อง (ทำที่อำเภอ) องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม 22 มิถุนายน 52 5

6 การประเมินศักยภาพชุมชน
( การประเมิน) ประเภทการประเมิน การประเมินภายใน – พื้นที่ประเมินกันเอง เพื่อ...นำผลการประเมินไปปรับปรุง/ยกระดับงานที่ทำ การประเมินภายนอก – คนนอก (คปสอ. หรือ ผู้รับผิดชอบงานระดับเขต/จังหวัด) เป็นผู้ประเมิน เพื่อ...วัดระดับของการพัฒนา วางแผนสนับสนุน หรือ Benchmarks กับพื้นที่อื่น / ก่อน-หลัง

7 การประเมินความสำเร็จของการทำงาน
ประเมินภายนอก เพื่อ...1. สร้างมาตรฐานการดำเนินงาน และประเมินตนเอง 2. ค้นหาเทคนิค/วิธีการ การดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ

8 ประเมินตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
ฉลาด สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน ระดับดีมาก

9 ประเมินภายนอก/ภายใน การประเมินค่ากลาง
เพื่อ...1. วางแผนการพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการปัญหา สุขภาพ (ภายนอก) 2. ค้นหานวัตกรรม/งานเด่นของชุมชน แล้วนำไปสร้างเป็น แหล่งเรียนรู้ใน รน.สช. (ภายใน)

10 1. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (สอดคล้องกับค่ากลาง)
วัยทำงานฉลาด สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน ประชาชน อสม. เป็นต้นแบบ ปชช. ได้รับการดูแลสุขภาพ ชุมชนมีวิสาหกิจชุมชนฯ ภาคี นักจัดการสุขภาพดำเนินงาน ภาครัฐสนับสนุนการดำเนินงาน อปท./เครือข่ายร่วมดำเนินงาน กระบวนการ มีระบบ ปชส./ติดตาม /ประเมินผล มีการประสานงาน/เชื่อมโยงภาคี มีแผนงาน/โครงการป้องกันโรควิถีชีวิต พื้นฐาน องค์กรชุมชนเข้มแข็ง มีศักยภาพ มีข้อมูลเป็นถูกต้อง/เป็นปัจจุบัน 10

11 2. ค่ากลางที่จังหวัดประกาศแล้วที่จะใช้ประเมินพื้นที่

12 3. ประเมินศักยภาพชุมชนตามค่ากลางฯ

13 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินรายกิจกรรม
ระดับ 1  พื้นที่ทำงานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ 1 งาน หรือไม่ได้ทำ ระดับ 2  พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศระหว่าง 2 ถึง 3 งาน ระดับ 3  พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ 4 งานขึ้นไป หรือทุกงาน

14 เกณฑ์การประเมิน (ต่อ)
เกณฑ์การประเมินภาพรวม ระดับ 1 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 ระดับ 2 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 2 และไม่มีกิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 ระดับ 3 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วทั้ง 6 กิจกรรมได้รับการประเมินเป็นระดับ 3

15 ระดับ 4  เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 3 รวมทั้งมีงานที่เป็นนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ประเมินตนเองส่ง สสจ. เชียงใหม่ และเตรียมจัดตั้งเป็น รน.สช. ระดับ 5  เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 4 แล้วเปิดเป็น รน.สช. รวมทั้งมีหลักฐานเชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ได้ว่ากลุ่มเป้าหมายของแผนงาน/โครงการดังกล่าวมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ (เกิดกล่องสุดท้ายของ SLM ของแผนงาน/โครงการนั้น) อย่างน้อยร้อยละ 10 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด หรือเป็นพื้นที่ที่สามารถนำค่ากลางไปสร้างแผนงาน/โครงการที่บูรณาการร่วมกัน เช่น โครงการคัดกรองโรคที่บูรณาการร่วมกันทั้งการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไข้เลือดออก อาหารปลอดภัย ฯลฯ

16 ตารางช่วยประเมินศักยภาพแผนงาน/โครงการ
พื้นที่ กิจกรรมสำคัญ ระดับรายกิจกรรม มีนวัตกรรม เปิด รน.สช. ระดับภาพรวม 1 2 3 4 5 6 7 พื้นที่ ก. - พื้นที่ ข. พื้นที่ ค. พื้นที่ ง. พื้นที่ จ. พื้นที่ ฉ.

17 ตารางฝึกประเมินค่ากลาง
รพ.สต. การดูแลผู้สูงอายุ ก. 1 ก. 2 ก. 3 ก. 4 ก. 5 ก. 6 ระดับกิจกรรม ระดับรวม รพ.สต ก 3 2 1 รพ.สต ข รพ.สต ค รพ.สต ง รพ.สต จ

18 ตารางฝึกประเมินค่ากลาง
รพ.สต. เบาหวาน ความดัน ก. 1 ก. 2 ก. 3 ก. 4 ก. 5 ก. 6 ระดับกิจกรรม ระดับรวม รพ.สต ก 3 5 รพ.สต ข รพ.สต ค รพ.สต ง รพ.สต จ

19 4. วิเคราะห์ศักยภาพชุมชน

20 DM+HT FS

21 5. ยกระดับแผนงาน/โครงการ
ค่ากลาง 12 เรื่อง รายกิจกรรม ระดับรวม

22 การกำหนดค่ากลางของแผนงาน/โครงการ
ระดับ 1. ค่ากลาง แสดงงานสำหรับโครงการ (ก ที่พบปฏิบัติอยู่ทั่วไปในจังหวัด 2. ค่ากลางไม่ใช่มาตรฐานที่ออกโดยกรมวิชาการ 3. หากโครงการ (ก) ที่กำลังประเมินมีงานเปรียบเทียบได้กับค่ากลาง ให้คะแนน = 3 4. หากมีงานมากหรือน้อยกว่าค่ากลาง คะแนนจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามเกณฑ์ที่จังหวัดกำหนด 5. จังหวัดสามารถกำหนดทิศทางการพัฒนาได้โดยการตั้งเกณฑ์เพื่อผลักดันงานไปในทิศทางที่ต้องการ

23 การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพแผนงาน/โครงการเมื่อใช้ค่ากลาง
จำนวน ยกระดับมาตรฐานวิชาการและสังคม สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง รนสช.ทำงาน พัฒนาโครงการที่ต่ำกว่าค่ากลางขึ้นเท่ากับค่ากลาง สร้าง รนสช. ระดับ 1 2 3 4 5 การกระจายของระดับการพัฒนาเมื่อเทียบกับค่ากลาง

24 การยกระดับแผนงาน/โครงการ
บทบาทใคร ? (ภายนอก + ภายใน) พื้นที่ประเมินตนเอง เพื่อยกระดับเอง คพสอ. ประเมิน เพื่อจัดทำแผนยกระดับพื้นที่ กลุ่มงานใน สสจ. ที่เกี่ยวข้อง ประเมิน เพื่อวางแผนสนับสนุนส่วนขาด การประเมิน - ก่อนใช้ค่ากลาง (ข้อมูลนำเข้า) - หลังใช้ค่ากลางแล้วทุกๆ ปี (เปรียบเทียบการพัฒนา/ยกระดับค่ากลาง)

25 การประเมินความพร้อมของแหล่งเรียนรู้ ประเมินภายใน (ภายนอกช่วยชี้แนะ)
เพื่อ...1. ค้นหาครูผู้สอน / นวัตกรรมหรือผลงานความสำเร็จ 2. ค้นหาบุคคลต้นแบบ / ทุนทางสังคม / หลักสูตร 3. เตรียมความพร้อมในการเปิดเป็น รน.สช./รร.อสม.

26 การประเมินตนเองเพื่อเตรียมเปิด รน.สช.

27

28 การประเมินตนเองเพื่อเตรียมเปิด รร.อสม.

29

30 การประเมินนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ประเมินภายใน เพื่อ...1. รวบรวมรายละเอียดเนื้อนวัตกรรมสุขภาพชุมชนที่เกิดจากการ จัดการสุขภาพ 2. เตรียมจัดทำแผนการสอนใน รน.สช./รร.อสม.

31 ค้นหานวัตกรรมสุขภาพชุมชน
คือ การนำการดูแลสุขภาพที่ร่วมกันคิดมาปรับกระบวนการตามหลักวิชาการให้เข้ากับบริบทชุมชน แล้วนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยใช้ SRM เป็นเครื่องมือ “การที่ประชาชนลุกขึ้นมาดูแลสุขภาพตนเอง”

32 นวัตกรรมสุขภาพชุมชน สิ่งใหม่ๆ ด้านสุขภาพที่ชุมชนเป็นผู้ปฏิบัติ
เป็นงานที่ทำได้มากกว่าค่ากลางฯ อาจเลียนแบบพื้นที่อื่น แต่ในพื้นที่เรายังไม่มี พัฒนาต่อเนื่องมาจากการดำเนินโครงการที่สร้างจาก แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เห็นการสนับสนุนจากภาครัฐหรือภาคท้องถิ่นชัดเจน

33 ตัวอย่างนวัตกรรมสุขภาพชุมชน

34

35

36 การประเมินต้นทุนและศักยภาพชุมชน
ประเมินภายใน เพื่อ...1. ค้นหาเพิ่มและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพ 2. เชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพกับแหล่งเรียนรู้ อื่นๆ ในชุมชน

37

38

39 การประเมินความเสี่ยงกลุ่มเป้าหมาย
ประเมินภายใน เพื่อ...1. จัดระดับความเสี่ยงของกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ 2. แบ่งบทบาทหน้าที่การทำงานให้ทีมหมอครอบครัว

40 เครียด วิตกกังวลและซึมเศร้า
การจำแนกและจัดลำดับความสำคัญของกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ชื่อบุคคล/ที่อยู่ _______________คะแนนความเสี่ยงรวม =(ระหว่าง 4 ถึง 12) ตัวอย่าง สภาวะทางสุขภาพ (ตามเกณฑ์ที่กำหนด) คะแนนความเสี่ยง หมายเหตุ (รายละเอียด) ด้านสุขภาพจิต คะแนน 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก เครียด หรือวิตกกังวล เครียด และวิตกกังวล เครียด วิตกกังวลและซึมเศร้า ด้านโรคไม่ติดต่อ โรคเบาหวาน หรือ ความดัน โรคเบาหวาน และ ความดัน ไม่มีโรคแทรก โรคเบาหวาน และ ความดัน มีโรคแทรกซ้อน ด้านการใช้สารเสพติด สูบบุหรี่ หรือดื่มสุรา สูบบุหรี่ และดื่มสุรา สูบบุหรี่ ดื่มสุรา และไม่ออกกำลังกาย ด้านพฤติกรรม ไม่ล้างมือ หรือไม่ใช้ช้อนกลาง ไม่ล้างมือ และไม่ใช้ช้อนกลาง ไม่ล้างมือ ไม่ใช้ช้อนกลาง และดื่มน้ำอีดลม

41 สภาวะแวดล้อมของหมู่บ้าน (ตามเกณฑ์ที่กำหนด) คะแนนความเสี่ยง
รายชื่อหมู่บ้าน หมายเหตุ ด้านกายภาพ การจัดการขยะ การใช้ส้วมนั่งยอง การใช้พื้นที่ร่วมกัน 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก หมู่ที่ 3 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 6 ร้อยละของผู้สูงอายุในหมู่บ้านมีความเสี่ยงจากน้อยไปหามาก ด้านสังคม การร่วมกิจกรรมในชุมชน การถ่ายทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น หมู่ที่ 3 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 6 , หมู่ที่ 2 จำนวนครั้งและปริมาณของคนเข้าร่วมกิจกรรมตามลำดับ ด้านเศรษฐกิจ อาชีพ รายได้ หนี้สิน หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 6 , หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 3 รายได้ หนี้สิน ของประชากรในหมู่บ้านมีความเสี่ยงจากน้อยไปหามาก ระดับความเสี่ยงของสภาวะแวดล้อมของกลุ่มเป้าหมาย ต.ท่ากว้าง อ.สารภี ตัวอย่าง

42 สภาพแวดล้อมของหมู่บ้าน
การกำหนดลำดับความสำคัญในภาพรวมของตำบลท่ากว้าง อ.สารภี ตัวอย่าง สภาพแวดล้อมของหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยงมาก(จำนวน) กลุ่มเสี่ยงปานกลาง(จำนวน) กลุ่มเสี่ยงน้อย(จำนวน) หมายเหตุ ความเสี่ยงสูง หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 6 1 คน ไม่มี รวม 1 คน 25 คน 23 คน รวม 48 คน 78 คน 54 คน รวม คน ความเสี่ยงปานกลาง หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 รวม 0 คน 3 คน 14 คน รวม 17 คน 103 คน 75 คน รวม คน ความเสี่ยงน้อย หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 7 31 คน รวม 31 คน 125 คน คน 70 คน รวม คน 1 1 2 1 2 3 2 3 3

43 แนวคิดสำหรับกำหนดกิจกรรมสำคัญและงาน
เน้นลดระดับความเสี่ยงในหมู่บ้านประเภท 1 ลงด้วยมาตรการทางวิชาการสำหรับกลุ่มเป้าหมายในสัดส่วนที่สูงกว่ามาตรการทางสังคม สัดส่วนจะกลับทางกันสำหรับหมู่บ้านประเภท 3 และใกล้เคียงกันสำหรับประเภท 2 ความเข้มของมาตรการทั้งเทคนิค สังคม และนวัตกรรม (สะท้อนด้วยลักษณะงาน) สูงสุดในประเภท 1 ต่ำสุดในประเภท 3 ทีมหมอประจำครอบครัวจัดการงานภาครัฐ ท้องถิ่น/ชุมชน/อสม.จัดการงานภาคประชาชน

44 พัฒนาสู่ความยั่งยืน

45 โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ปรัชญา รน.สช. เป็นการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพชุมชน ให้สามารถประยุกต์ประสบการณ์และความสำเร็จในการดำเนินงานจัดการสุขภาพ ไปใช้ในพื้นที่ของตนได้อย่างเหมาะสม ก่อนให้เกิดการจัดการสุขภาพในพื้นที่ของตนเองได้อย่างยั่งยืน

46 การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน 56 แห่ง - School without Wall ของชุมชน - เวทีแสดงออกของทีมจัดการสุขภาพชุมชน - ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ - มีมาตรการชุมชน/นวัตกรรมฯ - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามประสบการณ์

47 งบฯ สนับสนุนการเปิด 10,000 บาท (บางพื้นที่) โล่รับรอง รน.สช. (ทุกแห่ง)
การสนับสนุน งบฯ สนับสนุนการเปิด 10,000 บาท (บางพื้นที่) โล่รับรอง รน.สช. (ทุกแห่ง)

48 โรงเรียนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
ปรัชญา รร. อสม. เป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้สามารถพึ่งตนเองได้ และพัฒนาสู่ความเป็นครูเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับคนในชุมชน นำไปสู่การปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ก่อเกิดพลังชุมชนที่เข้มแข็งอย่างยั่งยืน

49 การดำเนินงานโรงเรียน อสม.
โรงเรียน อสม. 34 แห่ง - School without Wall ของ อสม. - เวทีแสดงออกของ อสมช. / อสม.ดีเด่น - ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ - มีการสร้างหลักสูตรตามความต้องการ - แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีทำงาน/องค์ความรู้

50 การสนับสนุน งบฯ สนับสนุนการเปิด 10,000 บาท (บางพื้นที่) จากสมาคม อสม. ชม. เกียรติบัตรรับรอง รร. / ครู ที่ผ่านประเมิน

51 สุขภาพดี อยู่ที่ชุมชน เชื่อมั่นและทำให้เป็นจริง
คือ...คำตอบของ DHS สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google