งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559

2 วาระเขตสุขภาพที่ 10 ปีงบประมาณ 2559 แผนงานโครงการระดับเขตโครงการ/กิจกรรม 1. การเฝ้าระวังและ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เฉลิมพระเกียรติ โครงการตรวจคัดกรอง พัฒนาการเด็กเฉลิมพระ เกียรติ - การตรวจคัดกรอง - การกระตุ้นพัฒนาการ 2. DHS, FCT โครงการพัฒนาระบบ บริการปฐมภูมิแบบมีส่วน ร่วม - Palliative Care - การดูแลผู้สูงอายุ /ผู้พิการ/ ผู้ด้อยโอกาส 3. ใช้ PMQA ในการดำเนินงานด้านบริหารจัดการ 4. มะเร็งท่อน้ำดี ตรวจคัดกรองและรักษา ผู้ป่วยมะเร็งตับและท่อ น้ำดี - รณรงค์บริโภคปลาร้าสุก - ตรวจคัดกรอง Ultrasound ใน กลุ่มเสี่ยง - สร้างช่องทางการรักษาในกลุ่ม ป่วย 5. STEMI, SK, CKD, DM ลดอัตราตาย โรคหลอด เลือดหัวใจ โรคไต,โรคเบาหวาน - คัดกรองเบื้องต้น (Early detection) - ส่งต่อรายที่พบผิดปกติเข้ารับ การรักษา (Early treatment)

3 วาระเขตสุขภาพที่ 10 ปีงบประมาณ 2559 แผนงานโครงการระดับเขตโครงการ/กิจกรรม 6. ผู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุ- คัดกรองต้อกระจกในผู้สูงอายุ สร้างช่องทางการรักษาในกลุ่ม ผิดปกติ 7. ไข้เลือดออก โครงการป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก - ป้องกันเชิงรุก - พัฒนาประสิทธิภาพการรักษา - พัฒนาระบบข้อมูล - สร้างการมีส่วนร่วม 8. SRRT คุณภาพ 12. ประเมิน SRRT คุณภาพ - พัฒนา SRRT คุณภาพ - ประเมิน SRRT คุณภาพระดับ จังหวัด เขต 9. Border Health พัฒนาระบบบริการ สาธารณสุขชายแดน - การควบคุมป้องกันโรคติดต่อตาม แนวชายแดน - พัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลและ ระบบการรับส่งต่อ

4 วาระเขตสุขภาพที่ 10 ปีงบประมาณ 2559 แผนงานโครงการระดับเขตโครงการ/กิจกรรม 10. การบริหารเขต สุขภาพ แบบมีส่วนร่วม การบริหารเขตแบบมี ส่วนร่วม - แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ ที่ มีส่วนร่วมจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง - ประชุมคณะกรรมการ อย่าง ต่อเนื่อง 11. โรงพยาบาล คุณธรรม พัฒนาโรงพยาบาล คุณธรรม - ประเมินโรงพยาบาลคุณธรรม 12. ขยะติดเชื้อ การบริหารจัดการขยะ ติดเชื้อ จากหน่วยงาน ด้านสุขภาพ - การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี - สร้างการมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการขยะติดเชื้อ 13. คุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภคด้าน สุขภาพ - การเก็บตัวอย่าง สุ่มตรวจ - การจัดการเรื่องร้องเรียน

5 นโยบายเน้นหนัก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ปีงบประมาณ 2559 1. โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติฯ 2. ควบคุมและป้องกันโรคเบาหวาน 3. เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 4. เฝ้าระวังและป้องกันเห็ดพิษ 5. การบริหารการเงินการคลัง 6. การพัฒนาบุคลากร/อัตรากำลัง 7. พัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัว (Family Care Team : FCT)

6 แผนพัฒนางานสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2559

7 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย

8 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กและสตรี ประเด็น สถานการณ์ ปี 58 จุดเน้น ปี 59โครงการ ปี 59 เด็ก ( 0-5 ปี ) และสต รี เด็กมีพัฒนาการ พบว่ามีค่าเฉลี่ย เด็กมีพัฒนาการ สมวัย ร้อยละ 87.80 ส่งเสริมและ พัฒนาเด็ก ครบ วงจร 1.ประเมินพัฒนาการในเด็ก 0-5 ปี 2. จัดระบบส่งต่อเด็กที่สงสัย พัฒนาการล่าช้า เพื่อกระตุ้น พัฒนาการ 3.พัฒนาศูนย์เด็กเล็กให้ได้ตาม มาตรฐาน 4. ประเมินรับรองศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 5. พัฒนาศักยภาพ บุคลากร, (FCT, ครูพี่เลี้ยงเด็ก และ อสม.) 6.ประเมิน IQ EQ / ส่งเสริมIQ EQ ใน เด็กที่ต่ำกว่าเกณฑ์

9 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กและสตรี ประเด็นสถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 เด็ก (0-5 ปี) และสตรี - ปี 2558 มารดา เสียชีวิต 3 ราย 21.25/แสนการเกิดมี ชีพ (เกณฑ์ไม่เกิน 15/แสนการเกิดมี ชีพ) - อัตราตายปริกำเนิด 5.07 ต่อพันการเกิด (ไม่เกิน 9/พันการ เกิด) - อัตราการเสียชีวิต ของทารกแรกเกิดที่มี อายุน้อยกว่าหรือ เท่ากับ 28 วัน คิด เป็น 2.02 ต่อพันการ เกิดมีชีพ (เกณฑ์ไม่ เกิน 8 /พันการเกิดมี ชีพ) 1. พัฒนาระบบการ ดูแลกลุ่มหญิง ตั้งครรภ์ที่มีภาวะ เสี่ยง 2. พัฒนาระบบการ ดูแลทารกแรกเกิดที่ มีภาวะเสี่ยง 1. พัฒนามาตรฐาน งานอนามัยแม่และเด็ก (ฝากครรภ์คุณภาพ, ห้องคลอดคุณภาพ) 2. พัฒนาระบบการส่ง ต่อ งานอนามัยแม่และ เด็ก 3. จัดบริการโรงเรียน พ่อแม่ 4. ส่งเสริมไอโอดีนใน พื้นที่พระราชดำริ 5. เฝ้าระวังภาวะ โลหิตจางในเด็ก ปฐมวัย

10 การพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยเรียน สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 1. เด็กนักเรียนมีภาวะเริ่ม อ้วนและอ้วน ร้อยละ 6.72 2. เด็กนักเรียน มีรูปร่าง ไม่สมส่วน ร้อยละ 40 1. ยุว อสม.ใน รร. 2.แก้ไข IQ EQ 3.แก้ไขปัญหา เด็กรูปร่างไม่สม ส่วน 4.ขยายการ ดำเนินงาน โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ 1. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ที่ครอบคลุม 2. พัฒนาคุณภาพอาหารกลางวันใน โรงเรียน 3. จัดระบบการดูแลช่วยเหลือ/ส่งต่อใน เด็กที่พบปัญหา 4. จัดระบบการติดตามเยี่ยม เด็กที่พบ ปัญหา 5. พัฒนาศักยภาพ ครู บุคลากร สาธารณสุข แกนนำนักเรียน 6.เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงในวัยเรียน (บุหรี่ สุรา ยาเสพติด) 7.ชมรม To Be Number One ใน โรงเรียน

11 การพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยรุ่น สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 1. อัตราการคลอดใน หญิงอายุ 15-19 ปี 21.40ต่อพันประชากร หญิงอายุ 15-19 ปี ( < 50 ) 2. การตั้งครรภ์ซ้ำใน วัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ร้อยละ 14.17 (< 10 %) 3.อัตราดื่มอัลกอฮอล์ใน กลุ่มอายุ 15 -19 ปีร้อยละ 14.17 4. อัตราการสูบบุหรี่ใน กลุ่มอายุ 15 -18 ปีร้อยละ 9.25 1.ลดการตั้งครรภ์ ไม่พร้อมในวัยรุ่น 2.ลดการตั้งครรภ์ ซ้ำในวัยรุ่น 1. อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยน ทัศนคติผู้ให้บริการ 2. พัฒนาศักยภาพให้ทุก โรงพยาบาล มีการบริการ ยาคุมกำเนิดกึ่งถาวรในแม่วัยรุ่น 3. พัฒนาคลินิกบริการสุขภาพที่ เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน 4. พัฒนาอำเภออนามัยวัยเจริญ พันธ์ 5. ชมรม To Be Number One ใน โรงเรียน

12 การพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงาน สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 - คัดกรองDM 79.54%,HT 82.29% - ผู้ป่วย DM คุม ระดับน้ำตาลได้ดี 23.42% - ผู้ป่วย HT ควบคุม ระดับความดันโลหิต ได้ดี 58.45% -อัตราตายจาก อุบัติเหตุทางถนน 22.82 ต่อแสน ประชากร -การควบคุม ระดับน้ำตาลใน ผู้ป่วยเบาหวาน -การป้องกัน อุบัติเหตุทาง ถนน 1. การตรวจคัดกรองสุขภาพ ประชาชน 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม เสี่ยง 3. พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ บูรณาการเชื่อมโยงสู่ ระบบ สุขภาพอำเภอ 4. พัฒนารูปแบบการให้ คำแนะนำในการลดความรุนแรง ของโรค ( self management) 5. อบรมเพิ่มทักษะบุคลากรใน การดำเนินงาน ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม

13 การพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัย ผู้สูงอายุ ผู้พิการ สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 1. ผู้สูงอายุได้รับการ ประเมินความสามารถ ในการใช้ชีวิตประจำวัน ( ADL ) 95.76% พบว่า - ติดสังคม 92.24% - ติดบ้าน 6.89% - ติดเตียง 2.08% 2. ผู้พิการทางการ เครื่องไหว(ขาขาด) ได้รับขาเทียม 87.28% 1.พัฒนา คลินิกผู้สูงอายุ 2. ฟื้นฟู สภาพ ผู้สูงอายุ/ผู้ พิการ 3. การดูแล ผู้ป่วยแบบ ประคับประคอง (Palliative) 4.พัฒนาทีม หมอครอบครัว ในการดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการ 1. ตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพ ผู้สูงอายุ 2. การฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มที่ต้องได้รับการ ดูแล 3.พัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ คุณภาพ 4. พัฒนาชมรมผู้สูงอายุ 5. สร้าง Care giver การดูแล ผู้ป่วยติดเตียง

14 ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถ เข้าถึงบริการได้

15 ระบบบริการปฐมภูมิ สถานการณ์ ปี 58 จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 1. มีระบบ สุขภาพอำเภอ ครบทุกอำเภอ 2. ทีมหมอ ครอบครัวระดับ อำเภอ 82 ทีม 3. ทีมหมอ ครอบครัวระดับ ตำบล 352 ทีม 4. ทีมหมอ ครอบครัวระดับ ชุมชน 1,565 ทีม 1. ยกระดับระบบ สุขภาพอำเภอ เพิ่ม จากเดิมอย่างน้อย 1 ระดับ 2. เยี่ยมบ้าน คุณภาพใน กลุ่มเป้าหมายหลัก โดยทีม FCT 3. พัฒนาศูนย์ดูแล ต่อเนื่องระดับอำเภอ 4.พัฒนาศักยภาพ และมาตรฐาน รพ.สต. 1. พัฒนาแพทย์ที่ปรึกษาทีม หมอครอบครัว 25 อำเภอ 2. พัฒนาศักยภาพทีมหมอ ครอบครัวทุกระดับ 3. พัฒนา อสม.เป็นนักบริบาล ชุมชน 4. สร้างผู้ดูแล (ญาติ) ให้ สามารถดูแลกลุ่มป่วยได้ (Care Giver) 5. พัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง 6. พัฒนาศักยภาพ ครู ข ใน การเยี่ยมเสริมพลัง 7.จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน

16 ระบบริการทุติยภูมิ ตติยภูมิ ประเด็นสถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 การพัฒนา ระบบบริการ สุขภาพ 5 สาขาหลัก 1. จำนวนการรับการส่ง ต่อผู้ป่วย Appendectomy จาก โรงพยาบาลชุมชน แนวโน้มลดลง (ปี 56=1,820,ปึ 57= 1,621, ปี 58 ข้อมูล 6 เดือน =566) 2. จำนวนการรับส่ง ต่อผู้ป่วย Acute Respiratory Failure ใน เด็ก 0-15 ปี ลดลง ( ปี 55= 32 ราย,ปี 56= 12 ราย,ปี 57 = 8 ราย) 3. อัตราส่วนมารดา ตาย 21.7 ต่อแสนการ เกิดมีชีพ พัฒนาศักยภาพ โรงพยาบาลแม่ ข่ายให้สามารถ รองรับบริการ ประชาชนใน พื้นที่รับผิดชอบ ได้ครบ 5 สาขา หลักตามเกณฑ์ 1. จัดให้มีบริการ ช่อง ทางการปรึกษากับ ผู้เชี่ยวชาญและระบบ Fast track การส่งต่อ 2. จัดบริการ 5 สาขา หลัก ใน โรงพยาบาลแม่ ข่าย ให้ครบตาม minimal Competency 3. CPG แต่ละสาขา เชี่ยวชาญ 4. สนับสนุนครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง สนับสนุนการ ปฏิบัติงานของ ผู้เชี่ยวชาญ 5. พัฒนาศักยภาพ ทีมสหวิชาชีพเพื่อ สนับสนุนการปฏิบัติงาน ของผู้เชี่ยวชาญ

17 ระบบริการทุติยภูมิ ตติยภูมิ ประเด็นสถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 สาขา โรคหัวใจ - โรงพยาบาลระดับ F 2 ขึ้นไปให้ยา SK ได้ 14 แห่ง (21 แห่ง) - อัตราการเสียชีวิตของ ผู้ป่วย STEMI ร้อยละ 8.8 รพ. F2 ขึ้นไป สามารถให้ยา ละลายลิ่มเลือด ได้ 1. พัฒนาศักยภาพ F2 ขึ้น ไปให้สามารถให้ยาละลาย ลิ่มเลือดได้ 2. STEMI Alert สาขา อุบัติเหตุ อัตราตายจากอุบัติเหตุ ทางถนน ต่อแสนประชากร (57=22.82, 58=6.56 (มี.ค. 58)) Trauma Fast track 1. พัฒนาหน่วย EMS ตาม CPG 2. Fast track Trauma เชิงคุณภาพ 3. รณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุ แก้ไขจุดเสี่ยง สาขาทารก แรกเกิด อัตราตายของทารกแรก เกิดอายุ < 28 วัน = 2.02 : 1000 (<8 ต่อพันการ เกิดมีชีพ) ลดอัตราตาย และ ภาวะแทรกซ้อ น ทารกแรก เกิด 1. พัฒนาคุณภาพระบบส่ง ต่อทารกวิกฤติ 2. พัฒนาศักยภาพ บุคลากร

18 ระบบริการทุติยภูมิ ตติยภูมิ ประเด็นสถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 สาขา โรคมะเร็ง ผู้ป่วยมะเร็ง ปากมดลูก มะเร็งเต้านม รายใหม่ Stage 1,2 ร้อยละ 59.86 (ร้อยละ 70) 1. คุณภาพการคัด กรอง 2. เคมีบำบัด ใน รพ. ระดับ S 3.ลดระยะเวลารอ คอย การรักษา 1.การตรวจคัดกรองมะเร็งตับ ท่อน้ำดี ปากมดลูก เต้านม 2. สร้างระบบการส่งต่อเพื่อ การรักษาในกลุ่มป่วย 3. พัฒนาระบบการดูแล ต่อเนื่องในชุมชน 4. สร้างความตะหนักในการ ป้องกันโรคมะเร็ง สาขาโรค หลอดเลือด สมอง ผู้ป่วย Ischemic Stroke ที่ได้รับยา ละลายลิ่มเลือดทาง หลอดเลือดดำ 57= 1.7%,58= 2.51% ( >3%) 1. Stroke fast track 2. Stroke unit เพิ่มขึ้น 1. Stroke Alert 2. พัฒนา ศักยภาพการให้ยา ใน รพ. A,S,M1,M2 3. ดูแลต่อเนื่องผู้ป่วย Stroke ในชุมชน ของทีม FCT สาขาโรคไต จำนวน CKD Clinic 23 แห่ง (26 แห่ง) คัดกรองผู้ป่วย CKD จากผู้ป่วย DM,HT พัฒนา CKD Clinic

19 ระบบริการทุติยภูมิ ตติยภูมิ ประเด็นสถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 สาขาจักษุผ่าตัดต้อกระจกทุกสิทธิ์ ปี 57 ข้อมูล 9 เดือน 2,137 ตา ปี 58 ข้อมูล 9 เดือน 2,772 ตา เพิ่มขึ้น 29.7% 1. ลด ระยะเวลา รอคอย ผ่าตัดต้อ กระจก 2. คัดกรองจอ ประสาทตาในผู้ป่วย DM 1. พัฒนาระบบคัดกรองต้อ กระจกในผู้สูงอายุ 2. คัดกรองเบาหวานขึ้นจอ ประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวาน 3. จัดระบบการผ่าตัดต้อ กระจกในผู้สูงอายุให้ได้รับการ ผ่าตัดใน 30 วัน สาขา สุขภาพจิต อัตราการเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคจิต 46.73% - อัตราการเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 42.49% โรคจิตและซึมเศร้า เข้าถึงบริการ เพิ่มขึ้น 1. อบรมแพทย์ที่รับผิดชอบ งานสุขภาพจิตและแพทย์จบ ใหม่ 2. ฟื้นฟูองค์ความรู้สำหรับ พยาบาลเฉพาะทางด้าน สุขภาพจิตและจิตเวช 3. อบรมพัฒนาศักยภาพครู ในการพัฒนาสติปัญญาเด็ก อายุ 2-15 ปี 6. พัฒนาศักยภาพ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ในการตรวจ คัดกรองฯ

20 ระบบริการทุติยภูมิ ตติยภูมิ ประเด็นสถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 สาขาสุขภาพ ช่องปาก 1. เด็กอายุ 3 ปี ฟันผุ 6.24 % 2. อัตราการใช้ บริการสุขภาพ ช่องปาก > 20% ปี 58=58.4% 1. เด็กอายุ 3 ปี ฟันผุ < 50% 2. ลดเวลารอคอย ทำฟันเทียม < 6 เดือน 3. อัตราการใช้ บริการสุขภาพ ช่องปาก > 20% 1. พัฒนางานทันต สาธารณสุขในสถานบริการ ทุกระดับ 2. เพิ่มความครอบคลุม ทันตบุคลากรใน รพ.สต. สาขา การแพทย์ แผนไทย OPD คู่ขนาน 1.จัดให้มีบริการแพทย์ แผนไทยในทุกหน่วย บริการ 2. พัฒนาองค์ความรู้ บุคลากรทุกระดับ 3. พัฒนาสถานที่ผลิตยา สมุนไพร 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ในการดูแลผู้ป่วยร่วมกับ ทีมหมอครบครัว

21 ระบบการควบคุมโรค ประเด็นสถานการณ์ ปี 58 จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 ไข้เลือดออก การระบาดของ โรคไข้เลือดออกมี แนวโน้มเพิ่มขึ้น และมีผู้ป่วย เสียชีวิตจากโรค ไข้เลือดออก 3 ราย ควบคุมโรค ไข้เลือดออก 1. สุ่มสำรวจค่า HI, CI ใน ระดับตำบล หมู่บ้าน 2. วิเคราะห์และรายงาน สถานการณ์โรค ทุกเดือน 3. สนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ 4. เตรียมความพร้อมเวชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ 5. ตรวจรักษาและส่งต่อที่ได้ มาตรฐาน 6. สนับสนุน CPG การ ปฏิบัติงาน 7. นิเทศติดตามและกำกับ เห็ดพิษมีผู้ป่วยเสียชีวิต จากเห็ดพิษ 4 ราย ลดการเสียชีวิต จากเห็ดพิษ 1. โครงการป้องกันอันตราย จากเห็ดพิษ 2. วิเคราะห์รายพื้นที่ 3. ประชาสัมพันธ์ทางสื่อ 4. ระบบการดูแลรักษา

22 ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ สถานการณ์จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 มีเรื่องร้องเรียนจาก ผู้บริโภค ปัญหาที่พบ -อาหารในกลุ่มพร้อม บริโภคทันที ฉลากไม่ ถูกต้อง -อาหารสดพบสารเคมี ป้องกันกำจัดศัตรูพืช ตกค้างและฟอร์มาลิน -โฆษณาผลิตภัณฑ์และ บริการสุขภาพที่โอ้อวด เกินจริง 1.การจัดการเรื่องโฆษณา 2.ขับเคลื่อน อย.น้อย 3.จัดทำยุทธศาสตร์การคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพ และ สิ่งแวดล้อม 4.ส่งเสริม พัฒนายกระดับสถาน ประกอบการด้านสุขภาพ 5.ดำเนินงาน Food safety 6.สนับสนุนและยกระดับผลิตผล ทางการเกษตรอินทรีย์เพื่อเพิ่ม มูลค่า 7.ขับเคลื่อนงานคุ้มครอง ผู้บริโภคในพื้นที่อำเภอชายแดน (คบส.ชายแดน) 1. โครงการคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์ และบริการสุขภาพ 2. โครงการอาหาร ปลอดภัย

23 การบำบัดผู้ติดสารเสพติด สถานการณ์ ปี 58 จุดเน้น ปี 59 โครงการปี 59 1.สมัครใจบำบัด ร้อยละ 61.36 2.อัตราคงอยู่ขณะ บำบัด ( Retention rate ) ร้อยละ 89.80 3. อัตราการคงอยู่ ในระยะติดตามการ รักษา ร้อยละ 85.96 เพิ่มอัตรา คงอยู่ ระหว่าง บำบัด 1. พัฒนาศูนย์คัดกรองและบำบัด ยาเสพติดใน รพ./สสอ. 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรใน หน่วยบำบัด รพ.ทุกแห่ง 3. พัฒนาศักยภาพวิทยากรใน การจัดค่ายบำบัดยาเสพติด 4. ขยายเครือข่าย To Be Number One 5. พัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชนใน การติดตามผู้ผ่านบำบัดฟื้นฟูใน ชุมชน

24 ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ

25 การพัฒนาบุคลากร สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59 โครงการปี 59 ข้อมูลกำลังคน ไม่เป็นปัจจุบัน การบริหาร บุคลากรไม่ เป็นไปตาม เกณฑ์ การพัฒนายังไม่ ครอบคลุม ทุกสหวิชาชีพ 1. มีแผนพัฒนา คน 2. จัด อัตรากำลังให้ตาม กรอบ FTE 1.ประเมินสมรรถนะและพัฒนา สมรรถนะบุคลากร 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรตาม Service Plan 3.การประเมิน/วิเคราะห์ความ ผาสุกของบุคลากร

26 การเงินการคลัง สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59 โครงการปี 59 1.รพ.มีวิกฤติ การเงินระดับ 7 จำนวน 8 แห่ง 2.คุณภาพบัญชี ผ่านเกณฑ์ 9 แห่ง ร้อยละ 34.60 1. แก้ไขระดับ 7 2. พัฒนา คุณภาพบัญชี 3.ควบคุม ต้นทุน 1.พัฒนาระบบบริหารจัดการด้าน การเงินการคลัง 2. พัฒนาข้อมูลด้านการเงินการ คลัง

27 การบริหารเวชภัณฑ์ สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59 โครงการปี 59 1.มูลค่าการ จัดซื้อยาและ วมย.ยังไม่ สามารถควบคุม ได้ 2.ราคาในการ จัดซื้อยังมีความ หลากหลาย 1. มีแผนการ จัดซื้อ/ดำเนินการ ตามแผน 2. มีรายการ จัดซื้อยา/ เวชภัณฑ์ร่วมเพิ่ม มากขึ้น 1. พัฒนาระบบยาและเวชภัณฑ์ มิใช่ยา 2.มีหน่วยบริการต้นแบบในด้าน จริยธรรมการจัดซื้อจัดหายาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา อย่างน้อย 1 แห่ง - มีโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยา สมเหตุสมผลตามหลัก PLEASE อย่างน้อย 1 แห่ง - ประเมินและติดตามการจัดทำ รายงานการจัดซื้อจัดหายา และ วมย. ในหน่วยบริการ ให้ครบถ้วน ถูกต้อง รวดเร็ว ตามเวลาที่ กำหนด

28 สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59 โครงการปี 59 1. EHA 59 % 2. คุณภาพการ จัดการขยะติด เชื้อ ของ รพ.80.76% 3. รพ.สต. ยัง ไม่มีระบบจัดการ 1.พัฒนา มาตรฐานการ จัดการ สิ่งแวดล้อมของ อปท.(EHA ) 100 % 2. การกำจัดขยะ สิ่งปฏิกูล 3.การกำจัดขยะ ติดเชื้อ 1. แผนงานพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมและกฎหมาย (ขยะ สิ่งปฏิกูล น้ำเสีย) 2. อาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย -สถานประกอบการ - เกษตรกร 3. หมู่บ้านจัดการสุขภาพด้าน สิ่งแวดล้อม

29 สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 ประชาชนมี พฤติกรรมสุขภาพ ระดับดีมาก ร้อยละ 23 1. เพิ่มช่องทางการ ประชาสัมพันธ์ 2. สร้างนักสื่อสาร สุขภาพในชุมชน 3. พัฒนาพฤติกรรม สุขภาพ 1. พัฒนางานสุขศึกษาประชาสัมพันธ์ และศูนย์การเรียนรู้สุขภาพในสถาน บริการและในชุมชน 2. พัฒนาศักยภาพ นักประชาสัมพันธ์/ นักสื่อสารสุขภาพ 3. พัฒนาช่องทางสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ อาทิ เสียงตามสาย วิทยุ ชุมชน 4. ผลิตและนำเสนอผลงานเด่น นวัตกรรมในการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสุขภาพ 5. จัดกิจกรรมรณรงค์ ปชส. อาทิ รถ แห่ ชปส./ปชส.ในงานเทศกาลประจำ จังหวัด

30 ระบบข้อมูลเชื่อมโยงทุกระดับ สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59โครงการปี 59 มีการพัฒนา UBON System เพื่อช่วยใน เรื่องการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม เข้า DataCenter - อุบลราชธานีมี ข้อมูลการส่งต่อใน ระบบ Refer link ระดับเขตจำนวน 16 แห่ง พัฒนาระบบ สารสนเทศอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งระบบ Font Office และ Back Office 1.การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านการ ใช้ระบบสารสนเทศ และการติดตั้งและ บริหารจัดการ Data center 2.การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการ พัฒนาคุณภาพระบบสารสนเทศ 3.การประชุมผู้รับผิดชอบระบบ สารสนเทศ 4.การพัฒนาศักยภาพบุคลากรของศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.การประชุมผ่านระบบ VDO Conference 6.Audit data 7.ส่งเสริมการพัฒนานวตกรรมด้าน IT

31 ธรรมาภิบาล/การบังคับใช้กฎหมาย สถานการณ์ ปี 58จุดเน้น ปี 59 โครงการปี 59 1.การควบคุม ภายในที่ยังไม่ เพียงพอ 2.มีเรื่อง ร้องเรียน - การทุจริต ประพฤติมิชอบ 8 เรื่อง - การบริหาร ทั่วไป 6 เรื่อง - การบริหารงาน บุคคล 6 เรื่อง - การให้บริการ 4 เรื่อง ส่งเสริมป้องกัน การทุจริต ประพฤติมิชอบ 1.การตรวจสอบภายในอย่างมี คุณภาพ 2. การดำเนินงานตามดัชนีค่า ความโปร่งใส (Integrity and Transparency Assessment : ITA ) 3.โครงการโรงพยาบาลคุณธรรม

32 การนำนโยบายสู่การ ปฏิบัติ และการกำกับ ติดตาม ประเมินผล ประจำปี พ. ศ. 2559 32

33 1.ถ่ายทอดนโยบายการดำเนินงานสู่ผู้ปฏิบัติใน ระดับอำเภอ /ตำบล 2.เครือข่ายบริการสุขภาพ จัดทำแผนการ ปฏิบัติงาน 3.ดำเนินงานตามแผน ในห้วงเวลาที่กำหนด 4.ติดตาม และควบคุมกำกับการดำเนินงาน 5.ประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ กระบวนการดำเนินงาน ปี 2559

34 กลุ่มโครงการ การดำเนินงานในไตรมาส 1234 1.การอบรม / พัฒนาศักยภาพ (อบรม FCT, อบรม MCHฯลฯ ) // 2. การรณรงค์ (ไข้เลือดออก,ยาเสพติด,เอดส์ ฯลฯ) ตามห้วงเวลา 3.กิจกรรมการบริการ (อนามัยโรงเรียน,เยี่ยมบ้านฯลฯ) ตามห้วงเวลา 4.นิเทศ / ติดตาม /ควบคุมกำกับ// 5.อื่นๆ/// 34 ROAD MAP การพัฒนางานสาธารณสุข ปี 2559

35 เป้าหมาย การดำเนินงาน ไตรมาส 1234 ผลงาน เชิงปริมาณ ร้อยละ 20 ร้อยละ 60 ร้อยละ 90 ร้อยละ 100 ผลงานเชิง คุณภาพ (ระดับความสำเร็จ) ระดับ 1 - 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ROAD MAP การพัฒนางานสาธารณสุข ปี 2559

36 36

37 ประเมินผลปีละ 2 ครั้ง เดือน กพ. และ สค.

38

39


ดาวน์โหลด ppt จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google