งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Vision Mission Goal P S G KPI_PA 29 One page presentation

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Vision Mission Goal P S G KPI_PA 29 One page presentation"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 16 48 4 Vision Mission Goal P S G KPI_PA 29 One page presentation
สรุปนโยบายเน้นหนัก ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ และตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี ของกระทรวงสาธารณสุข Vision Mission เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและ อภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน Core Values ค่านิยมร่วม Mastery นายตนเอง Originality สร้างสรรค์นวัตกรรม People centered approach ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง Humility อ่อนน้อมถ่อมตน “M O P H” Goal เป้าหมาย ระบบสุขภาพยั่งยืน ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ Promotion & Prevention Excellence Strategy Excellence ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ 4 ด้าน (PSPG) บริการ เป็นเลิศ Service Excellence บุคลากร People Excellence บริหารเป็นเลิศ ด้วยธรรมาภิบาล Governance Excellence P S G Performance Agreement ตัวชี้วัด KPI_PA 29 Master Plan แผนงาน 16 Action Plan Project โครงการเน้นหนัก 48 กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ; 5 ตุลาคม 2559

2 One page presentation แผนปฏิบัติการ โครงการเน้นหนัก ปี กระทรวงสาธารณสุข 16 แผนงาน 48 โครงการ กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ; 5 ตุลาคม 2559

3 Service Excellence Strategies ( 6 แผนงาน 23 โครงการ)
One page presentation Service Excellence Strategies ( 6 แผนงาน 23 โครงการ) แผน 20 ปี กสธ. 5.การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ(PCC) พัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิและเครือข่ายระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) 6.พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 5 สาขาหลัก สาขาทารกแรกเกิด สุขภาพช่องปาก NCDs หัวใจ มะเร็ง ไต จักษุ สุขภาพจิต และจิตเวช แพทย์แผนไทยฯ ปลูกถ่ายอวัยวะ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการแพทย์ ป้องกันการดิ้อยาต้านจุลชีพ และการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (RDU) ดูแลผู้สูงอายุ พิการ และผู้ด้อยโอกาส (รวม 14 โครงการ) 7.ระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและส่งต่อ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ 8.พัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ พัฒนาคุณภาพสถานบริการสุขภาพ พัฒนาคุณภาพ รพ.สต. 9.การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริฯ และพื้นที่เฉพาะ พัฒนารพ.เฉลิมพะเกียรติ ๘๐พรรษา พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ แรงงานข้ามชาติ การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพในชายแดนใต้ 10.ประเทศไทย 4.0สาธารณสุข พัฒนาสถานบริการด้านสุขภาพ พัฒนาผลติภัณฑ์สุขภาพ และเทคโนโลยี กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ; 5 ตุลาคม 2559

4 ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ Promotion & Prevention Excellence
One page presentation Performance Agreement ตัวชี้วัด KPI_PA 29 กสธ. ปี 2560 1 ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ Promotion & Prevention Excellence P 2 3 4 บริหารเป็นเลิศ ด้วยธรรมาภิบาล Governance Excellence G บริการเป็นเลิศ Service Excellence S บุคลากรเป็นเลิศ People Excellence P 1. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 2. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 3. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี 4. ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ 5. ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการพระราชดำริ) 6. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ 7. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ ทางถนน 8. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ 9. ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสด และอาหารแปรรูป มีความปลอดภัย 10. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ ที่กำหนด 11. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital 12. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) 13. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 14. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 15. ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก 16. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 17. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 18. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr 19. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) 20. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 21. ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ 22. ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) 23. ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ 24. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happy Work Life Index) และ MOPH ไปใช้ 25. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA 26. ร้อยละของจังหวัดและหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล 27. ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน 28. ร้อยละผลงานวิจัย R2R ด้านสุขภาพที่เผยแพร่ให้หน่วยงานต่างๆนำไปใช้ประโยชน์ 29. ร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงได้รับการแก้ไขและมีการบังคับใช้ กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ; 5 ตุลาคม 2559

5 Vision Motto P S G One page presentation Strategy PSPG-20 Mission Goal
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และยุทธศาสตร์ การปฏิบัติราชการ ปี ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา Vision Motto วิสัยทัศน์ สสจ.ฉช. “เป็นองค์กรบริหารจัดการ ระบบสุขภาพต้นแบบสถานบริการได้คุณภาพมาตรฐาน บุคลากรมีสมรรถนะและความสุข ประชาชนมีสุขภาวะ” "ซื่อสัตย์สามัคคี มีมนุษยสัมพันธ์ ริเริ่มสร้างสรรค์ จรรโลงวินัย " Mission พันธกิจ Goal เป้าประสงค์ 1. ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพ 3. ประชาชนเข้าถึงระบบบริการสุขภาพที่ไร้รอยต่อ อย่างเสมอภาคและพึงพอใจ 4. ระบบบริการทุกระดับมีคุณภาพมาตรฐาน 5. บุคลากรมีสมรรถนะตามบทบาทหน้าที่และมาตรฐาน วิชาชีพ 6. บุคลากรมีความสุขในชีวิตและการทำงาน 7. ปัญหาโรคและภัยสุขภาพลดลง 8. ประชาชนสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพ 1. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของจังหวัด 2. ประสานการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผสมผสาน แบบองค์รวมทั้งการรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ฟื้นฟูสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภค 3. กำกับ ดูแล ประเมินผลและสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานสาธารณสุข 4. จัดบริการสุขภาพที่ได้คุณภาพมาตรฐานและคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพ, 5. สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการพัฒนา สุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ Promotion & Prevention Excellence Strategy ยุทธศาสตร์ PSPG-20 บริการ เป็นเลิศ Service Excellence บุคลากร People Excellence บริหารเป็นเลิศ ด้วยธรรมาภิบาล Governance Excellence P S G กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ; 5 ตุลาคม 2559

6 ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์มุ่งเน้น
การปฏิบัติราชการ ปี ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา “เป็นองค์กรบริหารจัดการระบบสุขภาพต้นแบบสถานบริการได้คุณภาพมาตรฐาน บุคลากรมีสมรรถนะและความสุข ประชาชนมีสุขภาวะ” "ซื่อสัตย์สามัคคี มีมนุษยสัมพันธ์ ริเริ่มสร้างสรรค์ จรรโลงวินัย " Vision Motto 5P MODEL PASSION PLANNING PEOPLE Strategy PROCESS PERFORMANCE ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ Promotion & Prevention Excellence Strategy PSPG ยุทธศาสตร์ บริการ เป็นเลิศ Service Excellence บุคลากร People Excellence บริหารเป็นเลิศ ด้วยธรรมาภิบาล Governance Excellence P S G PSPG-20 18. HR System -HRP, HRM, HRD -Happinometer -Happy work Life Index 8. Primary Care Cluster (PCC ) -DHS, Family Medicine 9. Control DM/HT 10. CVD Risk 11. COPD 12. RDU 13. คลินิกแพทย์แผนไทย -Thai traditional massage 14. อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจ 15. ลดระยะเวลารอคอย Rx CA 16. CKD 17. Quality Health System -รพ.สต.ติดดาว/คป.สอ.ติดดาว -HA -R2R, KM P - 1 G - 2 19. Information System 20. Finance 1. Maternal & Child - พัฒนาการเด็กสมวัย -Teenage Pregnancy 3. Long term care ผู้สูงอายุ 4. TB 5. RTI 6. Food Safety 7. Green & Clean Hospital, P - 7 S - 10 กลยุทธ์ มุ่งเน้น : PSPG20 Performance Agreement ของท่านปลัด กสธ. บวก บริบทพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา

7 S - 10 PSPG-20 P G S Strategy PSPG บริการเป็นเลิศ Service Excellence
ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์มุ่งเน้น การปฏิบัติราชการ ปี ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ Promotion & Prevention Excellence Strategy PSPG ยุทธศาสตร์ บริการเป็นเลิศ Service Excellence บุคลากร เป็นเลิศ People Excellence บริหารเป็นเลิศ ด้วยธรรมาภิบาล Governance Excellence P S G PSPG-20 1. Primary Care Cluster (PCC ) -DHS, Family Medicine 2. Control DM/HT 3. CVD Risk 4. COPD 5. RDU 6. คลินิกแพทย์แผนไทย -Thai traditional massage 7. อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจ 8. ลดระยะเวลารอคอย Rx CA 9. CKD 10. Quality Health System -รพ.สต.ติดดาว/คป.สอ.ติดดาว -HA -R2R, KM S - 10

8 Quick Win 2560 S : Service Excellence 3M 6M 12M 9M บำบัดยาเสพติด
Policy Setting : 5P Model Strategic Formulation : PSPG 20 (P7S10P1G2),Action Plan Strategic Deployment : PA Strategic Evaluation : SMS, M&E CA Advance Training คลินิก(รพ.สต.) ครบ 100% พัฒนา CA Excellence Center ระดับ 2 ประเมิน ECS F2+ 100% ประเมิน รพ.สต ติดดาว 100% PCC 90% คลินิกแผนไทย(รพ.สต.) ครบ 30% รพ.สต. 5 ดาว 10% (12 แห่ง) ลดระยะเวลารอคอย การให้บริการมะเร็ง CUP พัฒนาเครือ ข่าย COPD 100% อสค. 50% อสค. 50% DM/HT Control เพิ่มขึ้น 5% รพ.สต. 3 ดาว 50%(59 แห่ง) ประเมินเครือข่าย COPD 100% เข้าถึงบริการแพทย์แผนไทย 18.5% บำบัดยาเสพติด พัฒนาระบบรายงาน บสต.ใหม่ 100% พัฒนาระบบบำบัดใน รพ.สต./รพท./รพช. 100% คุณภาพสถานบำบัด 100% ติดตามหลังบำบัด 100%

9 คำสั่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนและพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน ๓ คณะ 1. คณะกรรมการอำนวยการ - คณะกรรมการวางแผนและประเมินผลฯ สสจ.ฉะเชิงเทรา นพ.ปรารถนา ประสงค์ดี นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา ประธานคณะกรรมการฯ

10 2.คณะกรรมการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ(Service Plan)
พญ.อุไร ศิลปกิจโกศล ผอ.รพ.พนมสารคาม เลขานุการคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ พญ.สมบัติ ชุติมานุกูล ผอ.รพ.พุทโสธร ประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ พญ.รพีพร อารีย์ หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ เลขานุการคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ

11 3. คณะทำงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan (21 สาขา)
ลำดับ สาขา 1 โรคหลอดเลือดสมอง 2* หัวใจ 3 ทารกแรกเกิด 4*** โรคไม่ติดต่อ (NCD) 5 ตา 6* ไต 7 สูติกรรม 8 ศัลยกรรม 9 อายุรกรรม 10 กุมารเวชกรรม 11 ศัลยกรรมกระดูก ลำดับ สาขา 12 สุขภาพจิต จิตเวช และ ยาเสพติด 13 ทันตกรรม 14 อุบัติเหตุ 15* มะเร็ง 16** ปฐมภูมิ 17* การใช้ยาอย่างสมเหตุผล 18* การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน 19 อาชีวเวชศาสตร์ 20 ปลูกถ่ายอวัยวะ 21 เวชศาสตร์ฟื้นฟู

12 ตัวชี้วัด S1. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) เป้าหมาย 1. เขตเมืองมี PCC 1 แห่ง(3ทีม) และเขต รพช. 3 ทีม 2. ทุกอำเภอมีคลินิกหมอครอบครัวเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ทีม พัฒนารูปแบบการจัดบริการและโครงสร้างPCC พัฒนาระบบการบริหารจัดกำลังคน/โครงสร้าง พัฒนาระบบการสนับสนุนพัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และอภิบาลระบบ มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จัดตั้งคณะกรรมการPCC ระดับจังหวัด แผนการจัดตั้งPCC แผนการอบรมบุคลากร - มีแผนพัฒนาบุคลากรทีมคลินิกหมอครอบครัว(PCC) ในการ สรรหาบุคลากรตามเกณฑ์(Staff : Major critiria) - สนับสนุนและพัฒนา บุคลากรตามหลักเกณฑ์ (Staff: Major critiria) -มีแผนการสรรหาบุคลากร ตามเกณฑ์ (Staff : Minor critiria) ที่ชัดเจน จัดตั้งและขึ้นทะเบียนคลินิกหมอครอบครัว(PCC) อย่างน้อยอำเภอละ1ทีม Quick Win

13 ตัวชี้วัด S2. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ เป้าหมาย ควบคุมได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 / 6 เดือน , เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 / 12 เดือน - ระบบเฝ้าระวังตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส - เชื่อมโยงทุกระบบด้วย SM/CM บูรณาการแบบฟันเฟือง - พัฒนาความสมบูรณ์ของข้อมูล ด้วย QC data และChronic link มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน -คัดกรอง DM,HT อายุ 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ (แข่งกันคัดกรอง แข่งกันทำดี) -ร้อยละ 100 ของ คปสอ. มีแผนงาน/โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ.2ส. -คัดกรอง DM,HTอายุ 35 ปี ขึ้นไปร้อยละ (แข่งกันคัดกรอง แข่งกันทำดี) -การจัดบริการคลินิก NCD และคลินิก DPACในหน่วยบริการปฐมภูมิ 50% -ร้อยละ 100 ของ คปสอ. จัดกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ.2ส. -การจัดบริการคลินิก NCD และคลินิก DPACในหน่วยบริการปฐมภูมิ 100% สสจ.ติดตามประเมินผลครบ ทุก คปสอ. ร้อยละ 100 Quick Win

14 ตัวชี้วัด S3. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) เป้าหมาย การประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ในผู้ป่วย DM/HT ร้อยละ 80 การดำเนินงานในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงมากกว่า 60 % ในสถานบริการทุกแห่ง พร้อมทั้งประเมินผลลัพธ์หลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน -มีการดำเนินงานบูรณาการคลินิก NCD คุณภาพและคลินิก DPAC ทุกแห่ง มี ผู้ป่วย DM/HT ที่มีความเสี่ยงสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 60 -มีการดำเนินงาน บูรณาการคลินิก NCD คุณภาพและคลินิก DPAC ร้อยละ 50 - การประเมินความเสี่ยง ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ใน DM/HT ร้อยละ 80 - ผู้ป่วย DM/HT ที่มี ความเสี่ยงสูงได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ร้อยละ 30 Quick Win

15 บริการคลินิกCOPDคุณภาพ อย่างครบวงจร จังหวัดฉะเชิงเทราอย่าง
ตัวชี้วัด S4. อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ต่อประชากรอายุ15ปีขึ้นไปไม่เกิน 130 ต่อแสน เป้าหมาย ลดอัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยCOPD จัดตั้งคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังตามแนวเวชปฏิบัติอย่างครบวงจร ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยและการดูแลต่อเนื่อง ให้บริการผู้ป่วยCOPDตามกรอบแนวทางการให้บริการอย่างเชื่อมโยงทั้งเครือข่าย มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน *จัดให้บริการผู้ป่วยCOPDและส่งต่อ บริการคลินิกCOPDคุณภาพ อย่างครบวงจร 135.2 <130 โรงพยาบาลทุกระดับร่วมจัดทำกรอบแนวทางการให้บริการคลินิกCOPD คุณภาพโดยยึดตามแนวปฏิบัติบริการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง พ.ศ.2553 โรงพยาบาลทุกระดับ มีและใช้กรอบแนวทาง ดำเนินงานคลินิกCOPD จังหวัดฉะเชิงเทราอย่าง ครบวงจร มีการดำเนินงานคลินิก COPD ทีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ผลการดำเนินงานคลินิก COPD คุณภาพ ที่มีประสิทธิภาพส่งผลต่อการลดอัตราการกำเริบเฉียบพลันผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้ตามเกณฑ์ Quick Win หมายเหตุ * มีคลินิกCOPD -ส่งผู้ป่วยที่ติดบุหรี่เช้าคลินิกเลิกบุหรี่ แต่ขาดความ เชื่อมโยง

16 ตัวชี้วัด S5.ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(Rationale Drug Use, RDU) เป้าหมาย ทุกโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิในจังหวัดฉะเชิงเทรามีการดำเนินงาน RDU 1. กำหนดนโยบายการดำเนินงาน RDU โดย PTC ระดับจังหวัด 2. วางแนวทางการดำเนินงาน ควบคุม กำกับ ติดตาม และประเมินผลตามตัวชี้วัด โดยคณะกรรมการ Service plan RDU มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน - มีคณะกรรมการ PTC ทุกโรงพยาบาล และมีคณะกรรมการ RDU เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบาย - มีกิจกรรมพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาสมเหตุผล และการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในโรงพยาบาล และหน่วยบริการปฐมภูมิทุกอำเภอ - มีรพ.ที่ผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 1ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของรพ.ทั้งหมดในจังหวัด - รพ. ระดับ A มีแผนปฏิบัติการการจัดการเชื้อดื้อยาในรพ. และมีข้อมูล baseline ของอัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด - รพ.ระดับ A มีแผนปฏิบัติการการจัดการเชื้อดื้อยาในรพ. และมีข้อมูล baseline ของอัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด -มีรพ. ผ่านเกณฑ์ RDUขั้นที่ 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของรพ.ในจังหวัด - มีรพ.ที่ผ่านเกณฑ์ RDUขั้นที่ 2ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของรพ.ทั้งหมดในจังหวัด Quick Win - ทุกโรงพยาบาลมีการ จัดทำข้อมูล baseline ตามตัวชี้วัดทั้ง 20 ตัวชี้วัด (ผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 1) - มีรพ.ที่ผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของรพ.ในจังหวัด - มีรพ.ที่ผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 2ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของรพ.ในจังหวัด

17 ตัวชี้วัด S6. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน เป้าหมาย ผู้ป่วยนอกที่รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกร้อยละ % มาตรการ 1. จัดตั้งคลินิกแพทย์แผนไทยที่แผนกผู้ป่วยนอกในรพท./รพช. คู่ขนานกับแพทย์แผนปัจจุบัน ร้อยละ 100 2. จัดบริการคลินิกครบวงจรการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานที่มีการรักษาโรคทั่วไปและเฉพาะโรค อย่างน้อย 4 โรคใน รพท. 3. รพท.รพช.รพ.สต.สั่งยาพัฒนาจากสมุนไพรเป็นอันดับแรก(First Line Drug) ได้แก่ ยาขมิ้นชันและยาฟ้าทะลายโจร 4. รพ.สต.มีการจัดบริการแพทย์แผนไทยในสถานบริการที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ >40 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน -มีคณะทำงาน Service Plan สาขาการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน และมีแผนระดับจังหวัด - จัดตั้งคลินิกแพทย์ แผนไทย OPD คู่ขนานในรพท./รพช. ร้อยละ 100 - รพท.จัดบริการคลินิกครบวงจร อย่างน้อย 4 โรค -รพท.รพช.รพ.สต.มีการสั่งยาพัฒนาจากสมุนไพรเป็นอันดับแรก(First Line Drug) ได้แก่ ยาขมิ้นชันและยาฟ้าทะลายโจร จังหวัดมีพื้นที่ต้นแบบดีเด่นด้านการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกระดับ รพช. 1 แห่งและรพ.สต. 1 แห่ง มีการจัดบริการแพทย์แผนไทยใน รพ.สต.ที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 30 -รพท. รพช.มีพยาบาลผ่านการอบรมคัดกรองการให้บริการการแพทย์แผนไทย OPD คู่ขนาน ครบทุกแห่ง - ผู้ป่วยนอกที่รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ % -มีการจัดบริการแพทย์แผนไทยใน รพ.สต.ที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ >40 Quick Win

18 ตัวชี้วัด Quick Win S7. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
เป้าหมาย อัตราตายลดลงร้อยละ 10 1.บูรณาการจัดการ โรคไม่ติดต่อ เรื้อรังและลดปัจจัยเสี่ยง ผ่าน คลินิก NCD คุณภาพและคลินิก DPAC ทุกระดับ 2. ประสานกับทีม Service Plan 6 สาขาหลักดังนี้ สาขาหัวใจและ หลอดเลือด, 5สาขาหลัก, สาขาตา และไต, สาขาปฐมภูมิทุติยภูมิ และ สุขภาพแบบองค์รวมเพื่อพัฒนา ระบบบริการ 3. พัฒนาระบบบริการคลินิก NCD คุณภาพ บูรณาการคลินิก DPAC ในระดับปฐมภูมิ มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองและสนับสนุนการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ผลการพัฒนาตาม Service plan ที่เกี่ยวข้องได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองและสนับสนุนการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเป็นDM/HT ใน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่ม Pre-DM , Pre-HT การจัดบริการคลินิก NCD และคลินิก DPACในหน่วยบริการปฐมภูมิ 50% ผู้ป่วย DM/HT ได้รับ ประเมินภาวะแทรกซ้อน CVD 80% การจัดบริการคลินิก NCD และคลินิก DPACในหน่วยบริการปฐมภูมิ 100% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 60% Quick Win

19 ตัวชี้วัด S8. ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบาบัด รังสีรักษาของมะเร็ง 5 อันดับแรก เป้าหมาย 1. ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรกได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 WKs ≥ร้อยละ80 2. ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรกได้รับการรักษาด้วยเคมีภายในระยะเวลา 6WKs ≥ ร้อยละ80 3. ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรกได้รับการรักษาด้วยรังสีภายในระยะเวลา 6WKs ≥ ร้อยละ80 มาตรการ 1.เพิ่มประสิทธิภาพการให้เคมีบำบัด 2.พัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมี/รังสีรักษา และการเข้าถึงบริการ ร่วมกับเครือข่ายบริการสุขภาพที่6 3.ติดตามจัดเก็บตัวชี้วัดโดยโปรแกรม Thai Cancer Base 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน Quick Win 1.ศัลยแพทย์ผ่านการอบรม การเคมีบำบัด ร้อยละ 70 2.ติดตั้งระบบ Thail cancer based:TCB และระบบTCB-refer ในรพ พุทธโสธร 3. ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาด้วย - ผ่าตัดภายใน 4 WKs ≥ร้อยละ50 - เคมีภายใน 6WKs ≥ ร้อยละ50 - รังสีภายใน 6WKs ≥ ร้อยละ50 1.ศัลยแพทย์ผ่านการอบรมฯ ร้อยละ 90 2. ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาด้วย - ผ่าตัดภายใน 4 WKs ≥ร้อยละ70 - เคมีภายใน 6WKs ≥ ร้อยละ70 - รังสีภายใน 6WKs ≥ ร้อยละ70 1.ศัลยแพทย์ผ่านการอบรมฯ ร้อยละ 100 2. ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาด้วย - ผ่าตัดภายใน 4 WKs ≥ร้อยละ80 - เคมีภายใน 6WKs ≥ ร้อยละ80 - รังสีภายใน 6WKs ≥ ร้อยละ80 1.ศัลยแพทย์ผ่านการอบรมฯ ร้อยละ 80 2. ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาด้วย - ผ่าตัดภายใน 4 WKs ≥ร้อยละ60 - เคมีภายใน 6WKs ≥ ร้อยละ60 - รังสีภายใน 6WKs ≥ ร้อยละ60

20 ตัวชี้วัด S9. ร้อยละของผู้ป่วยCKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4ml/min/1.73m2/y KPI 1: ร้อยละของผู้ป่วย DM/HT ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต >90% เป้าหมาย KPI 2: ร้อยละของผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGfr < 4ml/min/1.73m2/yr >65% มาตรการ 1.ลดอุบัติCKD clinic การณ์รายใหม่ทุกระยะ 2.ชะลอการลดลงของค่า eGFR 3.มี CKD Clinic ทุกแห่ง มีทีมรักษ์ไตทุกรพ.สต+ศสม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน Quick Win - คัดกรอง >45% - คัดกรอง>90% - ตรวจเยี่ยมเครือข่ายเชิงลึก ผู้ป่วยชะลอไต ได้>65% อบรมครู ก.ทีม รักษ์ไต 11 แห่ง - ดำเนินการทีมรักษ์ไต เพิ่มขึ้น 50% - ประกวด ckd คุณภาพ - ดำเนินการทีมรักษ์ไตครบทุกแห่ง - ประกวดทีมรักษ์ไต

21 รพ.สต.ระดับ 5 ดาวร้อยละ10,ระดับ 4 ดาวร้อยละ 50,ระดับ 3 ดาวร้อยละ 100
ตัวชี้วัด S10. ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนา คุณภาพ เป้าหมาย รพ.สต.ระดับ 5 ดาวร้อยละ10,ระดับ 4 ดาวร้อยละ 50,ระดับ 3 ดาวร้อยละ 100 มาตรการ พัฒนาระบบบริหารจัดการ,การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและคุณภาพบริการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนารพ.สตระดับอำเภอ/จังหวัด รพ.สต.ประเมินตนเอง แผนพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์รพ.สต.ติดดาว รพ.สต.ผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ดาว ร้อยละ50 ประเมิน รพ.สต. ติดดาว 100% คปสอ.ผ่านเกณฑ์5ดาว ร้อยละ 10 รพ.สต. 5 ดาว ร้อยละ 10 4ดาว ร้อยละ 50 3ดาวร้อยละ100 Quick Win


ดาวน์โหลด ppt Vision Mission Goal P S G KPI_PA 29 One page presentation

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google