งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

K nowledge M anagement The Lecturer Consulting Plus 1 การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ กองทัพเรือ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "K nowledge M anagement The Lecturer Consulting Plus 1 การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ กองทัพเรือ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 K nowledge M anagement The Lecturer Consulting Plus 1 การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ กองทัพเรือ

2 การศึกษา @ รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต (MPPM) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประสบการณ์การทำงาน - Integrations Management ปตท. โกลบอลเคมิคอล จำกัด(มหาชน) - นักวิเคราะห์กลยุทธ์และงบประมาณ ( Analyst ) ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท จำกัด (มหาชน) - KM Coordinator บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) - Productivity Facilitator บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) - ผู้จัดการแผนกเคมีวิเคราะห์ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) Specialty - Knowledge Management Concept & Improvement, Learning Organization and Soft side activity - Productivity Concept, TQM Concept - Presentation Skill,Critical Thinking, Problem Solving, Creativity - Internal Assessor TQA, PMQA, SEPA saiphiroon@gmail.com http://facebook.com/saiphiroonphoemphul http://twitter.com/saiphiroon Tel. 081-7351215 อ.สายพิรุณ เพิ่มพูล. ผู้จัดการสถาบันพัฒนาการจัดการความรู้และนวัตกรรมองค์กร ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารโครงการ The Expert Group

3 “....ถ้าสละชีวิตก็เสียชีวิต สละทรัพย์เงินทองเสียเงินทองไป แต่สละความคิด นั้น ไม่ใช่สละ มันแบ่งออกไปแล้วก็ทำให้เรารวยขึ้นด้วยซ้ำ เพราะว่าถ้าแบ่ง ความคิดไปก็เท่ากับไปสร้างให้คนอื่นมีความคิด แล้วก็ทำให้คนอื่นทำงานได้ดี ขึ้น ก็เป็นการทำให้มีความคิดที่แข็งแรงขึ้นเป็นทวีคูณ...” พระราชดำรัสในพิธีประดับยศและพระราชทานสัญญาบัตรยศแก่นายทหารชั้นนายพล ณ ศาลาดุสิตดาลัย วันอังคารที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๒๘

4 Contents Why we need KM What is KM KM Components KM Tools Key Success Factor 4

5 “It is not the strongest of the species that survives, nor the most intelligent that survives. It is the one that is the most adaptable to change.” 5

6 Why we need KM 6

7 7 Content from from “ Knowledge Transfer and Elicitation”, Colet Consulting Ltd (Copyright)

8 Why we need KM 8

9 9

10

11 รายงานดัชนีการแข่งขันโลกประจำปี 2554-2555 @ กัมพูชา จากอันดับ 97 มาที่ 85 (+8) @ ประเทศไทย จากอันดับ 39 มาที่ 38 (+1) ใช้ดัชนีชี้วัดในด้านสถาบันภาครัฐและเอกชน นโยบายและปัจจัยที่จะส่งผลให้เกิดความ เจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ทั้งในระยะปัจจุบันและระยะกลาง เน้นเรื่องประสิทธิภาพใน การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ รวมทั้งเรื่องของการศึกษา เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่มา: Index 2012-2013 rankings © 2012 World Economic Forum Why we need KM 11

12 วิสัยทัศน์ของการพัฒนาระบบ ราชการ ในช่วง ระยะปี พ. ศ. 2556 - พ. ศ. 2561 ระบบราชการไทยมุ่งเน้นพัฒนาการ ทำงานเพื่อประชาชน และรักษา ผลประโยชน์ของประเทศชาติ ภายใต้ หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี ยกระดับขีดสมรรถนะไปสู่ ความเป็นเลิศ บูรณาการและเพิ่ม ประสิทธิภาพงานของภาครัฐ ประสาน การทำงานกับทุกภาคส่วน สร้างความ โปร่งใส ต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิ ชอบ ให้เป็นที่น่าเชื่อมั่นศรัทธาของ ประชาชน Why we need KM

13

14 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูง และทันสมัย Why we need KM

15 เราจัดการความรู้เพื่อ The Vision of the Eleventh Plan (2012-2016) A happy society with equity, fairness and resilience The Objectives of the Eleventh Plan (2012-2016) 15

16 เราจัดการความรู้เพื่อ The Vision of the Eleventh Plan (2012-2016) A happy society with equity, fairness and resilience The Main Targets of the Eleventh Plan (2012-2016) 16

17 Strategy Maps, Robert S.Kaplan, David P.Norton,2004 เราจัดการความรู้เพื่อ

18 Contents Why we need KM What is KM KM Components KM Tools Key Success Factor 18

19 KM? 19

20 Definition of Knowledge ความรู้ คือ Information ที่ผ่านกระบวนการทำความเข้าใจ คิดวิเคราะห์ นำไปใช้ตัดสินใจ เพื่อดำเนินงาน หรือ ลงมือปฏิบัติงาน จนสามารถพิสูจน์ความเป็นเหตุเป็นผล ตลอดจนสามารถประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆได้ WisdomWisdomKnowledgeKnowledgeInformationInformationDataData Context : Managerial Purpose : Decision Making Context : Strategy Purpose : Setting Direction RELATION PATTERN PRINCIPLE Context : Operation Purpose : Processing ที่มาและความหมายของคำว่า Knowledge 20

21 เน้น “ความรู้ในกระดาษ” จำกัดตัวแปร และเงื่อนไข ไม่อิงบริบท เลียนแบบจากความเชื่อ วัฒนธรรมที่ไม่ใช่บริบทของตนเอง เน้นการพิสูจน์เหตุ-ผล ระเบียบวิธีวิจัย เป็นความรู้เฉพาะด้าน เชื่อว่าความรู้มีใน “ผู้มีการศึกษา” เป็นความรู้ลอย ไร้ราก เสื่อมถอยง่าย โจทย์หรือข้อสงสัยมาจากผู้วิจัยหรือส่วนกลาง เป็นผู้กำหนด พนักงานมีส่วนร่วมเพียงการให้ข้อมูลหรือทำ ตามที่กำหนด เน้นเอาผลงานตามเวลาที่กำหนด KM Paradigm Shift (วิธีคิดที่ต้องเปลี่ยน) เน้น “ความรู้ในคน” Tacit เรียนรู้จากสถานการณ์จริง มิอาจคุมตัวแปร อิงบริบท ความเชื่อ วัฒนธรรมของตัวเอง เน้นการนำผลไปใช้ เป็นความรู้บูรณาการ เชื่อว่าความรู้มีในทุกคนที่ทำงาน เป็นความรู้ที่พูกพันกับงาน อยู่ในตัวคน ( เนียนไปในงานนั่นเอง ) โจทย์หรือข้อสงสัยต้องมาจากหน้างาน หรือ SGA เป็นผู้กำหนด SGA ผู้กำหนดกระบวนการที่สำคัญเอง เน้นกระบวนการที่นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ของ SGA  เป็นกระบวนการที่สร้างให้เกิดปัญญาของคนในองค์กร  ใช้สารสนเทศเป็นฐานในการพัฒนาองค์ความรู้  วิธีการคิดต้องยึดหลัก ประสิทธิผล และ คิดเชิงระบบ (Effectiveness and Systematic)  มีการกำกับให้ไปสู่จุดหมาย และอิงกับยุทธศาสตร์องค์กร  มีการบันทึกด้วยเครื่องมือที่หลากหลายเหมาะกับคนและความรู้ในองค์กร 21

22 What is KM ? กระบวนการที่ดำเนินร่วมกันโดยผู้ปฏิบัติงานใน องค์กร หรือหน่วยงานย่อยขององค์กร เพื่อสร้างและใช้ความรู้ในการทำงานให้เกิดผล สัมฤทธิ์ดีขึ้นกว่าเดิม โดยมีเป้าหมาย พัฒนางาน (Organization KM) และ พัฒนาคน (Human KM) ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช 22

23 บริบท: สถาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย บรรยากาศด้านการแข่งขัน บริบทเชิงยุทธศาสตร์ ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ กรอบการบริหารสู่ความเป็นเลิศ การนำองค์กร รัฐวิสาหกิจ 1 การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ 2 การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด 3 การมุ่งเน้น บุคคล 5 การจัดการ กระบวนการ 6 ผลลัพท์ 7 4 การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 23

24

25 KM Vision KM Mission KM Strategy Knowledge ? ความรู้อะไร ที่จะช่วยทำให้ ยุทธศาสตร์บรรลุผล KM Vision KM Mission KM Strategy Knowledge ? ความรู้อะไร ที่จะช่วยทำให้ ยุทธศาสตร์บรรลุผล VISION MISSION ยุทธศาสตร์ 1 Area to Manage Best Practice Lesson Learn Expertise Leadership, KM Strategy, Stakeholder, Information, Process, KM Facilitator, KM Tools 4 C’s = Culture, Core Competency, Core Value, Change Management How to create KM Strategic 25

26 ที่มา : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ วิสัยทัศน์ พันธกิจ แผน เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด Core Competency, Managerial Functional ผลลัพธ์ของการจัดการความรู้ 26

27 เส้นทาง KM & Best Practice 27

28 The Lecturer Consulting Plus K nowledge M anagement Implementation Step 28

29 The Lecturer Consulting Plus KM Design  วัฒนธรรมองค์กร  นโยบายจากผู้บริหารสูงสุด  โครงสร้างขององค์กร  อายุองค์กร และอายุของพนักงาน  ทีมงานการจัดการความรู้  เทคโนโลยีสารสนเทศองค์กร ประเด็นหลัก ในการ พิจารณา ออกแบบ KM 29

30 The Lecturer Consulting Plus Creating Shared Value Content Management Envision KM Business Framework Expected Deliverable Knowledge Audit Monitoring & Evaluation Tools &Technology Measurements - Shared Value the same and single direction and understanding Analyze & Synthesize Knowledge - Defined Knowledge - Discovered Knowledge - Captured Knowledge - Organized Knowledge - Shared Knowledge Develop KM System - Innovation - Best Practice - Knowledge Society - Benchmarking Leadership & Change Management KM Process Framework Business Integrated 30

31 The Lecturer Consulting Plus 31 หน่วยงานต่างๆ Mission / Objective หน่วยงานต่างๆ Mission / Objective KM Implementation Structure : Content Management Mission Strategy Vision Knowledge Audit and Identification Strategic Knowledge

32 The Lecturer Consulting Plus แผนการจัดการความรู้ ทร 2557 - 2560

33 The Lecturer Consulting Plus

34 กรมกิจการพลเรือนทหารเรือ มีหน้าที่วางแผน อํานวยการ ประสานงาน กํากับการ และดําเนินการเกี่ยวกับ กิจการพลเรือน งานดําเนินการทางสงครามการเมืองในหน่วยทหาร การปฏิบัติการ จิตวิทยา การช่วยเหลือประชาชน การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาประเทศ การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมของกองทัพเรือ และสนับสนุนงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ตลอดจนให้การฝึกและศึกษาวิชาการกิจการพลเรือนและวิชาการอื่นตามที่ได้รับ มอบหมายมีเจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ ที่มา : “พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการและกําหนดหน้าที่ของส่วนราชการกองทัพเรือ กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๕๒”

35 The Lecturer Consulting Plus 1. 1. กำหนดทิศทางและเป้าหมายการบริหารจัดการความรู้ 35 KM IMPLEMENTATION

36 The Lecturer Consulting Plus 2. Knowledge Audit Identify key or strategic knowledge and its status List key knowledge (or Context) which supports business direction/mission/pr ocess/key task K1 … K2 … Prioritize key knowledge by Level of Importance KM Opportunities (reusable, sharable, adoptable) And identify sub knowledge of first priority context Assess knowledge level Build Share Apply And identify experts and users 36 KM IMPLEMENTATION

37 The Lecturer Consulting Plus ประเมินสภาพแวดล้อม บรรยากาศ และเครื่องมือการบริหาร จัดการต่างๆ เพื่อให้มีความเข้าใจถึงปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลกระทบต่อการบริหารจัดการความรู้ของหน่วยงาน Understand Learning Environment 3. KM Assessment เอกสารประกอบ : KM Survey 37 KM IMPLEMENTATION

38 The Lecturer Consulting Plus KM Portal ออกแบบรูปแบบการบริหารจัดการความรู้ ซึ่งเน้นการเชื่อมโยงกิจกรรมเพิ่ม ประสิทธิภาพการทำงานที่มีอยู่เดิม รวมทั้งคำนึงถึงการประยุกต์ใช้และการต่อ ยอดความรู้จากปัจจุบัน คัดเลือกเครื่องมือการบริหารจัดการความรู้ โดยพิจารณาประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1.เครื่องมือต้องสามารถตอบสนองความต้องการทางธุรกิจได้ 2.เครื่องมือต้องสอดคล้องกับวัฒนธรรมการทำงานของกลุ่มเป้าหมายและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Knowledge Capturing Knowledge Capturing Knowledge Sharing Knowledge Sharing Learning Cycle 4. KM Program Design เครื่องมือที่รู้จักและมีการประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง 38 KM IMPLEMENTATION

39 The Lecturer Consulting Plus จัดทำกรอบการดำเนินงาน เพื่อใช้ในการสื่อความและสร้าง Commitment ร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยทั่วไปประกอบด้วย วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ กิจกรรม แผนงาน สิ่งที่จะส่งมอบ ปัจจัยเสี่ยงและวิธีการป้องกัน รวมถึงทีมงานพร้อม บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 5. Develop Team Charter 39 KM IMPLEMENTATION

40 The Lecturer Consulting Plus 6. Implementation การดำเนินงานบริหารจัดการความรู้ โดยมีปัจจัยแห่ง ความสำเร็จที่ต้องคำนึงถึง คือ การบริหารโครงการ การบริหารความเปลี่ยนแปลง Change Management Project Management  การรายงานความก้าวหน้า  การติดตามผลการดำเนินงาน  การจัดเตรียมพื้นที่ในการ ทำงาน  การผลักดันให้เป็นส่วนหนึ่งใน การประเมินผลงานประจำปี  การเยี่ยมชมงาน KM ในบริษัทชั้นนำ  การสร้างต้นแบบแห่ง การเปลี่ยนแปลง  การสร้างความเข้าใจใน กลุ่มเป้าหมาย  การฝึกอบรม สร้าง ทักษะด้าน KM 40 KM IMPLEMENTATION

41 The Lecturer Consulting Plus 7. Evaluation Shared Vision Prototype /Tool Selection Knowledge Audit KM Assessment Develop Team Charter Implemen- tation Evaluation 1234567 Design feedback loop การวัดความสำเร็จของการดำเนินงาน KM โดยสามารถกำหนด ตัวชี้วัดได้ 2 ลักษณะ คือ 1.การวัดผลทางตรงจากการบริหารจัดการความรู้ โดย วัดจำนวนความรู้ที่ได้รับการจัดการตั้งแต่ การจัดเก็บ การนำมาเผยแพร่ การนำไป ปฏิบัติ การแลกเปลี่ยน วัดกิจกรรมการบริหารจัดการความรู้ รวมถึงผลตอบรับของพนักงาน 2.การวัดผลลัพธ์ทางธุรกิจจากการบริหารจัดการความรู้ ( Business Value Realization ) 41 KM IMPLEMENTATION

42 The Lecturer Consulting Plus การวัดผลลัพธ์ทางธุรกิจ จากการบริหารจัดการความรู้ Increasing of Number of Experts or Practitioners in Community (No. or %) Reduction of Experts or Practitioner Development Time (Time Period) Reduction of Product or Service Development Period (Time Period) Number of Managed Knowledge Asset (ex. Knowledge Map, Lesson Learnt, Best Practices, New Knowledge, New Process) Contribution and Participation of Community Members Participation or Satisfaction of Business Partners Shorten Time : Project Approval, Turnaround, Issue Resolving, Customer Response, Product to Market or Construction % increasing of : plant utilization, standard practice development/ rollout Cost Saving from : reduction of energy consumption, maintenance cost, new product development Increasing of : Sale Volume, Profit per customer, deal success Increasing of : realized synergy value per expected synergy value in merger and acquisition case 42 KM IMPLEMENTATION

43 The Lecturer Consulting Plus การวัดผลลัพธ์ทางธุรกิจ จากการบริหารจัดการความรู้ (2) การวัดผลลัพธ์ทางธุรกิจ จากการบริหารจัดการความรู้ (2). Organization Knowledge User Knowledge Owner เป็นผู้เชี่ยวชาญ,ที่ปรึกษา ก้าวหน้า,ไม่ถูกผูกไว้กับ ตำแหน่งเดิม ลดภาระในการทำงานลง พัฒนาและต่อยอดความรู้ ขณะถ่ายทอด สามารถปฏิบัติงานได้รวดเร็ว เกิดการพัฒนางาน ปฏิบัติงานได้ถูกต้องแม่นยำ High Performance Organization เพิ่มความสามารถในการตัดสินใจและแก้ไข ปัญหา ลดระยะเวลาในการดำเนินงาน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ลดความเสี่ยงขององค์กรเมื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลง ส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ขององค์กร เพิ่มความสามารถในการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม และผลิตภัณฑ์ใหม่ 43 KM IMPLEMENTATION

44 The Lecturer Consulting Plus How to Start ? Open Mind Shining Network Work with Heart Start Small 44

45 The Lecturer Consulting Plus งานได้ผล คนเป็นสุข 45

46 The Lecturer Consulting Plus จุดวัดของ KM อยู่ที่ไหน ?? KM ไม่ใช่เป้าหมาย แต่คือการเดินทาง The Lecturer Consulting Plus 46

47 The Lecturer Consulting Plus I M P O S S I B L E I’MPOSSIBLE 47


ดาวน์โหลด ppt K nowledge M anagement The Lecturer Consulting Plus 1 การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ กองทัพเรือ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google