งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รพ.พุทธมณฑล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รพ.พุทธมณฑล."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รพ.พุทธมณฑล

2 การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน คณะกรรมการดูแลด้านคลินิก (PCT)
แบบบูรณาการ คณะกรรมการดูแลด้านคลินิก (PCT) โรงพยาบาลพุทธมณฑล

3 ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
อันดับ 2 ผู้ป่วยนอก อันดับ 2 ผู้ป่วยใน จำนวนผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มสูงขึ้น มีภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า คุณภาพชีวิตผู้ป่วยแย่ลง ค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง

4 ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ(ต่อ)
ผู้ป่วยรอตรวจนาน เพิ่มบุคลากรในการดูแลมากขึ้น เพิ่มภาระของครอบครัวด้านร่างกาย จิตใจ

5 การเปลี่ยนแปลง จัดทำ CPG และ Standing Order
พัฒนาบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานให้ได้ ตามมาตรฐาน โดยส่งบุคลากร องค์กรแพทย์ เภสัชกรรม พยาบาลวิชาชีพ ครอบครัวและ ชุมชนเข้ารับการอบรม

6 แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย Hypoglycemia
DTX ≤ 60 Mg% ซึม, ไม่รู้สึกตัว รู้สึกตัวดี ดื่มน้ำหวาน 1 แก้ว รายงานแพทย์เวร (ER) 50% glucose 50 cc. vein push stat 10% D/N/2 1,000 cc vein 80 cc/hr Admit (Standing order) เจาะ DTX ซ้ำอีก 1 hr. DTX ≤ 60 Mg% DTX ≥ 60 Mg% รายงานแพทย์เวร (ER) 50% glucose 50 cc. vein push stat 10% D/N/2 1,000 cc vein 80 cc/hr Admit (Standing order) ส่งพบแพทย์ (OPD)

7 แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย Hyperglycemia
DTX = – 250 Mg% DTX = – 400 Mg% DTX > 400 Mg% รายงานแพทย์ RI 10 unit vein stat 0.9% NSS 1,000 cc. vein 80 cc/hr Admit (Standing order) พิจารณาปรับยาเบาหวาน พิจารณาการใช้ Insulin ในกรณี max dose oral drug พิจารณาปรับยาเบาหวาน พิจารณาการใช้ Insulin ในกรณี max dose oral drug ส่ง ER ฉีด RI ตาม scale ต่อไปนี้ * DTX = – 300 mg% RI 6 unit sc. Stat * DTX = – 350 mg% RI 8 unit sc. Stat * DTX = – 400 mg% RI 10 unit sc. Stat เกณฑ์การนัดผู้ป่วยเบาหวาน FBS = 60 – 180 mg% นัด 1 เดือน = – 250 mg% นัด 2 สัปดาห์ – 1 เดือน = – 400 mg% นัด 1 สัปดาห์ – 2 สัปดาห์

8 การเปลี่ยนแปลง จัดกิจกรรมส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วย
ครอบครัวชุมชน โดยการจัดกิจกรรมในคลินิก เบาหวาน การเยี่ยมบ้าน

9 การเปลี่ยนแปลง เพิ่มการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า ไขมันในเลือด

10 การเปลี่ยนแปลง ทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง กำหนดตัวชี้วัด กำหนดการติดตาม ประเมินผลการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน

11 การเปลี่ยนแปลง เริ่มพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานใน
โรงพยาบาลตำบลและสถานีอนามัยในเครือข่าย

12 สรุปผลงานโดยย่อ / เป้าหมาย
ทุกหน่วยงานดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การคัดกรอง การปรับพฤติกรรม การดูแลรักษา ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน โดยความร่วมมือของผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชน เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี ลดอัตราป่วยรายใหม่ อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง

13 เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
การวัดผล เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป้าหมาย ระดับที่ปฏิบัติได้ ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 (ต.ค.52-มิ.ย.53) เชิงผลลัพธ์ 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวานมี FBS mg% ≥ 40% 29.05 34.19 35.87 2. อัตราผู้ป่วยเบาหวานมี HbA1C <6.5 mg% 25.63 31.74 32.82 3. อัตราการเกิด Hypoglycemia <60 mg% < 2% 1.06 0.90 1.28 4. อัตราการเกิด Hyperglycemia ≥200 mg% < 10% 12.50 8.82 5.03 5. อัตราผู้ป่วยเบาหวานเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา < 5% 3.18 4.49 7.85 6. อัตราผู้ป่วยเบาหวานเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต 1.04 1.18 7. อัตราการเกิดแผลเบาหวาน (รายใหม่) 2.06 1.90 1.82 8. อัตรา Re-admit ภายใน 28 วัน < 3% 2.16 9.38 4.94 9. อัตราวันนอนเฉลี่ย < 5 วัน 4.52 5.35 4.4 10. อัตราผู้ป่วยเบาหวานเกิดภาวะ Ac. Stroke 1.03 0.70 0.32 11. อัตราการขาดนัด เกิน 1 สัปดาห์ 13.75 8.05 1.74

14 เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
การวัดผล เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป้าหมาย ระดับที่ปฏิบัติได้ ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 (ต.ค.52-มิ.ย.53) เชิงกระบวนการ 12. อัตราการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ≥ 70% 77.11 81.20 71.10 13. อัตราการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน - ไขมันในเลือด / HbA1C > 80% 92.16 85.74 93.79 - ตรวจจอประสาทตา 81.12 62.50 84.65 - ตรวจการทำงานของไต Cr, Urine Albumin, Micro Albuminuria - ตรวจเท้า (Monofilament) 61.75 74.48 95.68 14. อัตราการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน > 60% 60.45 61.18 80.92 เชิงผลกระทบ 15. อัตราความพึงพอใจ ≥ 85% 95.51 98.08 93

15 การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสหวิชาชีพ
ผลลัพธ์ คุณภาพชีวิตดีขึ้น ลดภาระการดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสหวิชาชีพ การคัดกรอง การรักษาพยาบาล การสร้าง/ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ ครอบคลุม เกิดประสิทธิภาพ อัตราการป่วยและภาวะแทรกซ้อนลดลง

16 ผลลัพธ์ มาตรฐานในการดูแลผู้ป่วย แนวทางการดูแล เกิดความรู้ ความเข้าใจ
เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทิศทางเดียวกัน การสื่อสาร ประสานงานที่ดี

17 ขอบคุณค่ะ

18

19

20

21

22 ADL ก่อนการดูแล คะแนน ADL หลังการดูแล คะแนน

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32 กราฟแสดงการคัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มเสี่ยง

33 กราฟแสดงตัวชี้วัดการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน

34 ข้อมูลด้านคุณลักษณะประชากร

35 กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน โดยแบ่งตามเพศ


ดาวน์โหลด ppt รพ.พุทธมณฑล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google