ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสุชาย วอชิงตัน ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ประชุมคณะกรรมการ SP สาขาแม่และเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 8
20 พฤษภาคม 2558 โดย นพ.สุพจน์ แพรนิมิตร
2
วาระการประชุม วาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ทราบ
สรุปผลการใช้งบประมาณของSP แม่และเด็ก ปี ได้รับโอนมาจากเขต 500,000 บาทใช้งบประมาณไปทั้งหมดประมาณ 310,000 บาท คงเหลือ 190,000 บาท วาระที่ 2 ติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ผลการปฏิบัติกิจกรรมตามแผนของแต่ละจังหวัด ผลงานตาม KPI ของแต่ละจังหวัด วาระที่ 3 อื่นๆ ปรึกษาเรื่องการจัดทำ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน SP แม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 8
3
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน SP แม่และเด็กเขตสุขภาพที่8
กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการงานแม่และเด็กเขตและคณะทำงานเขตสุขภาพที่ 8 จำนวน 80 คน สถานที่ จ.หนองคาย ระยะเวลา 2 วัน ช่วงเดือน สิงหาคม 2558 กิจกรรม สรุปผลการดำเนินงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ดำเนินงานในแต่ละจังหวัด วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคเพื่อวางแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาปี 2559 กิจกรรมสันทนาการ
4
สรุปผลการดำเนินงาน Service Plan สาขาแม่และเด็กปฐมวัย
1 ตุลาคม2557 – 31 มีนาคม 2558
5
แผนกลยุทธ์กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0-5 ปี)
ตัวชี้วัด โครงการ/แผนงาน 1.พัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ 1.พัฒนาคลินิกฝากครรภ์/คลินิกพัฒนาการเด็กคุณภาพในหน่วยบริการปฐมภูมิและพัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2.พัฒนาศักยภาพบริการคลินิกฝากครรภ์โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลทั่วไป 3.ขับเคลื่อนพัฒนางานMCH ในหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านDHSและภาคีเครือข่ายต่างๆ 1.1 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (84 วัน) ≥ร้อยละ70 1.2 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ≥ร้อยละ70 1.3 ร้อยละ รพ.สต. ให้บริการ ANC คุณภาพ ≥ร้อยละ70 1.4 หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ภายในอายุครรภ์ไม่เกิน12สัปดาห์ (84วัน) และANC 5ครั้งคุณภาพ ≥ร้อยละ50 1.5 อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนัก < 2,500กรัม≤ร้อยละ7 /ลดลงจากปีก่อนร้อยละ0.5 1.6 อัตราเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวน้อย 6 เดือน ≥ร้อยละ 50 2.1 รพ.สต.ANC,WCCคุณภาพ≥ร้อยละ70 2.2 เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย≥ร้อยละ85 และคัดกรองพบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มพัฒนาการล่าช้า≥ร้อยละ10 2.3.เด็กอายุ18และ30เดือนได้รับการคัดกรองพัฒนาการร้อยละ100 2.4 ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ≥ร้อยละ60 1.โครงการอบรมแพทย์ทั่วไป/พยาบาลงานฝากครรภ์ ในการดูแลครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน 2.โครงการเพิ่มศักยภาพโรงพยาบาลระดับSให้บริการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด( PND) 3.โครงการอบรมพัฒนาทีมระดับจังหวัดประเมินรพสต.ANC/WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 4.โครงการประชุมชี้แจงเกณฑ์ประเมิน รพ.สต.ANC/WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพแก่ผู้ออกประเมิน 5.โครงการประเมินรพสต. ANC/WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 6.โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ How to/Good practice เพื่อพัฒนาการจัดการงานMCHผ่าน DHS
6
แผนกลยุทธ์กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) (ต่อ)
ตัวชี้วัด โครงการ/แผนงาน 2.พัฒนาความรู้และทักษะบุคลากร 1.พัฒนาทักษะภาคปฏิบัติแพทย์ทั่วไป/พยาบาลที่ปฏิบัติงานในห้องคลอดตรงประเด็นปัญหา 3.1 อัตรามารดาตายจากการตั้งครรภ์และการคลอด ≤15 ต่อ100,000 ของการเกิดมีชีพทั้งหมด 3.2 อัตราตายปริกำเนิด≤9ต่อ1,000 การเกิดทั้งหมด 3.3 BA ≤ 25ต่อ1,000 การเกิดมีชีพทั้งหมด 3.4 ทารกแรกเกิดน้ำหนัก. < 2,500กรัม<ร้อยละ7 /ลดลงจากปีก่อน ร้อยละ0.5 1.โครงการอบรมภาคปฏิบัติการคลอดติดไหล่/การคลอดท่าก้น/Active management 3rd stage labor /NCPR 2.การประชุมจัดทำ CPGการดูแลภาวะแทรกซ้อน/ปัญหาในห้องคลอด 3.การประชุมนำเสนอรายงานผู้ป่วยคลอดที่เกิดภาวะแทรกซ้อนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 4. โครงการพัฒนาทีมระดับจังหวัดกำหนดเกณฑ์/ประเมินผลการซ้อมแผนภาคปฏิบัติการดูแลรักษาภาวะวิกฤตในห้องคลอด 5. โครงการซ้อมแผนภาคปฏิบัติการดูแลรักษาภาวะวิกฤตในห้องคลอดทุกรพ. 6. โครงการประเมินผลการซ้อมแผน ภาคปฏิบัติการดูแลรักษาภาวะวิกฤตในห้องคลอดทุกรพ.โดยทีมระดับจังหวัด 7. โครงการหมุนเวียนพยาบาลรพช. ระดับFปฏิบัติงานที่ห้องคลอด รพท. /รพศ. ≥10วัน
7
แผนกลยุทธ์กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0-5 ปี)(ต่อ)
ตัวชี้วัด โครงการ/แผนงาน 3.สร้างสุขภาวะอนามัยเจริญพันธุ์หญิงกลุ่มวัย15-19ปี 1. ขับเคลื่อนพัฒนางานMCH ในหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านDHSและภาคีเครือข่ายต่างๆ 4.1 อัตราการคลอด.หญิงกลุ่มวัย15-19ปี≤50ต่อ1,000ของหญิงกลุ่มวัย15-19ปี 4.2 อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำของหญิงกลุ่มวัย15-19 ปี≤ร้อยละ10 1. โครงการใส่ห่วงอนามัย/ฝังยาคุมกำเนิดหญิงกลุ่มวัย15-19ปี หลังคลอด/หลังแท้ง 2. โครงการพัฒนา Youth Friendly Health Service ของ CUP 3. โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ How to/Good practice เพื่อพัฒนาการจัดการงานMCHผ่านDHS 4. มอบของขวัญปีใหม่2558ให้ประชาชน 5.1 อัตราเด็กอายุ2.5-7ปีได้รับการฉีด MR Vaccine ≥ร้อยละ95 5.2 หญิงตั้งครรภ์ได้รับวิตามินที่มีสารไอโอดีนตั้งแต่เริ่มฝากครรภ์และต่อเนื่องหลังคลอดนาน6เดือนร้อยละ100 1. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อคุ้มครองคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน 2. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อแก้ปัญหาการขาดไอโอดีน
8
สรุปแผนดำเนินงาน มี Action plan 17 โครงการ ดำเนินการแล้ว 13 โครงการ
คิดเป็น ร้อยละ 76.47
9
โครงการที่ดำเนินการ
10
ผลการดำเนินงานด้านกระบวนการ
โครงการ ผลการดำเนินงาน 1. โครงการประชุมทีมระดับจังหวัดชี้แจงเกณฑ์ประเมิน รพ.สต. ANC/ WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพแก่ผู้รับผิดชอบทุกรพช. รพ.สกลนคร 2 มี.ค.58 มีเอกสารเกณฑ์การประเมินส่งให้ รพ.สต. 2.โครงการพัฒนาทีมระดับจังหวัด กำหนดเกณฑ์ประเมินการซ้อมแผนภาคปฏิบัติ การดูแลรักษาภาวะวิกฤตในห้องคลอด - ได้เกณฑ์ประเมินภาวะวิกฤตLR จำนวน 4 เรื่อง PPH / PIH / fetal distress / NCPR ได้เครื่องมือ(tool: check list)ประเมินการซ้อมฯ
11
โครงการ ผลการดำเนินงาน
3.โครงการอบรมภาคปฏิบัติการคลอดติดไหล่/ การคลอดท่าก้น/ Active management 3rd stage of labor/ NCPR รพ.สกนคร(19 ก.พ.58) รพ.อุดรธานี (23,24 มี.ค.58) ร้อยละของรพ.ที่ฝึกภาคปฏิบัติต่อ 4.โครงการซ้อมแผนภาคปฏิบัติการดูแลรักษาภาวะวิกฤตในห้องคลอดทุกรพ. ร้อยละของรพ.ที่ซ้อมแผนฯ
12
โครงการ ผลการดำเนินงาน
5.โครงการหมุนเวียนพยาบาล รพช. ระดับ F ปฏิบัติงานที่ห้องคลอด รพท./รพศ. >10 วัน 6.โครงการใส่ห่วงอนามัย ฝังยาคุมกำเนิดหญิงกลุ่มวัย ปี หลังคลอด/หลังแท้ง
13
โครงการ ผลการดำเนินงาน
7. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อแก้ปัญหาการขาดไอโอดีน (21/43แฟ้ม) หญิงตั้งครรภ์ได้รับวิตามินที่มีสารไอโอดีนตั้งแต่เริ่มฝากครรภ์และต่อเนื่องหลังคลอดนาน6เดือน (เป้าหมาย ร้อยละ100)
14
โครงการ ผลการดำเนินงาน 8. โครงการอบรมแพทย์ทั่วไป/พยาบาลงานฝากครรภ์ ในการดูแลครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน ดำเนินการแล้วเสร็จ 9. การประชุมจัดทำ CPGการดูแลภาวะแทรกซ้อน/ปัญหาในห้องคลอด 10.โครงการอบรมพัฒนาทีมระดับจังหวัดประเมินรพสต.ANC/WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ดำเนินการโดยศูนย์อนามัยเขต 6 11.โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ How to/Good practice เพื่อพัฒนาการจัดการงานMCHผ่าน DHS 12.โครงการเพิ่มศักยภาพโรงพยาบาลระดับSให้บริการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด( PND) จ.หนองคาย ดำเนินการ ต.ค. 2557 จ.เลย ดำเนินการ ม.ค. 2558 13. โครงการพัฒนา Youth Friendly Health Service ของ CUP
15
โครงการที่ยังไม่ดำเนินการ
โครงการประเมินโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ANC/WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ โครงการทีมระดับจังหวัดออกประเมินผลการซ้อมแผนภาคปฏิบัติการดูแลรักษาภาวะวิกฤติในห้องคลอด โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อคุ้มครองคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน โครงการประชุมนำเสนอรายงานผู้ป่วยคลอดที่เกิดภาวะแทรกซ้อนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน กำลังจะดำเนินการ ระยะเวลา 1 วัน วันที่ 8 มิถุนายน 2558 เวลา น. สถานที่ ห้องฟ้าหลวง 1 โรงแรมนภาลัย จ. อุดรธานี กลุ่มเป้าหมาย แพทย์ พยาบาล จำนวน 200 คน พิธีการ นพ.สสจ.สกลนคร เป็นประธานกล่าวเปิดงาน กิจกรรม นำเสนอรายงานผู้ป่วยคลอดที่เกิดภาวะแทรกซ้อน กรณีศึกษาผู้ป่วย PIH โดย ทีมรพศ.อุดรธานี กรณีศึกษาผู้ป่วย PPH และคลอดติดไหล่ โดย ทีมรพศ.สกลนคร และรพ.กุสุมาลย์ ตัวแทนแต่ละจังหวัดอีก 5 จังหวัดนำเสนอประสบการณ์ผู้ป่วยคลอดที่เกิดภาวะแทรกซ้อนจังหวัดละ 1 ราย ทีมวิทยากร 1.นพ.สุพจน์ แพรนิมิตร 2. นายแพทย์ธวัชชัย จิรกุลสมโชค 3.แพทย์หญิงศรีสุดา ทรงธรรมวัฒน์
16
ตัวชี้วัด ผลลัพธ์การดำเนินงาน
ตัวชี้วัด ผลลัพธ์การดำเนินงาน
17
ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (เป้าหมาย ≥ร้อยละ 50)
18
อัตรามารดาตาย ( เป้าหมาย≤ 15 : การเกิดมีชีพแสนคน)
19
อัตราทารกตายปริกำเนิด ( เป้าหมาย≤9ต่อ1,000 การเกิดทั้งหมด)
20
ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย เป้าหมาย > ร้อยละ 85
อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เป้าหมาย < ร้อยละ 7
21
อัตราของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น อายุ 15-19ปี
เป้าหมาย < ร้อยละ 10 อัตราขาดออกซิเจนทารกแรกเกิด เป้าหมาย < 25:1,000 การเกิดมีชีพ
22
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19ปี
เป้าหมาย < 50:ประชากรหญิงอายุ ปี ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ เป้าหมาย > ร้อยละ 70
23
อัตราหญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก (ที่คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ)อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ (84วัน)และ ANC ครบ 5 ครั้ง เป้าหมาย > ร้อยละ 50 ร้อยละรพ.สตให้บริการ ANC คุณภาพ เป้าหมาย > ร้อยละ 70
24
ร้อยละการให้บริการ WCC มีคุณภาพ เป้าหมาย > ร้อยละ 70
25
คำนิยามตัวชี้วัด Leading Indicator สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100
1. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (84 วัน) A= จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ (นับที่ ANC) B=จำนวนหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมดที่มาฝากครรภ์ที่สถานบริการ (นับที่ANC)
26
1.อัตรามารดาตาย Lagging Indicator สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100,000
27
Lagging Indicator สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 1000 2. อัตราทารกตายปริกำเนิด A=จำนวนทารกที่คลอดตายในครรภ์(อายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 28 สัปดาห์) บวกจำนวนทารกที่คลอดออกมาและตายใน 7 วัน B=จํานวนทารกเกิดทั้งหมดในห้วงเวลาเดียวกัน
28
ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100
1. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย A = จำนวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการปกติในช่วงเวลาที่กำหนด B = จำนวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการตามเกณฑ์ทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน
29
ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100
2. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม A = จำนวนทารกเกิดมีชีพที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม ในช่วงเวลาที่กำหนด B = จำนวนทารกเกิดมีชีพที่ได้รับการชั่งน้ำหนักทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน
30
ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 1000
3. อัตราการขาดออกซิเจนทารกแรกเกิด A = จํานวนทารกแรกเกิด Apgar score ที่ 1 นาที น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 หรือข้อมูลวินิจฉัยโรค ICD 10 TM รหัส P210, P211, P219 B = จำนวนการเกิดมีชีพทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน
31
ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 1000
4. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี A = จํานวนการคลอดมีชีพของหญิงอายุ ปี B = จํานวนหญิงอายุ ปีทั้งหมด (จากจํานวนประชากรกลางปี 2557)
32
ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100
5. อัตราของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ ปี A = จำนวนหญิงอายุ ปีที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดหรือแท้งบุตร และเป็นการตั้งครรภ์ครั้งที่ 2 ขึ้นไป B = จำนวนหญิงอายุ ปี ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดหรือแท้งบุตรทั้งหมด
33
ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 A = จํานวนหญิงคลอดที่มีประวัติได้รับการดูแลก่อนคลอดครบทั้ง 5 ครั้งตามเกณฑ์ B = จํานวนหญิงคลอดทั้งหมด 6. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
34
ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 7. ร้อยละรพ.สต.ANCคุณภาพ
A=จํานวนรพ.สต./ศสช.ที่ให้บริการตามมาตรฐาน ANC คุณภาพ B=จํานวนรพ.สต./ศสช.ทั้งหมดภายในจังหวัด
35
ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100
8. อัตราหญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก (ที่คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ) อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ (84 วัน) และ ANC ครบ 5 ครั้ง A = จำนวนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ในคลินิกฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ และครบ 5 ครั้ง B = จำนวนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทั้งหมดที่ฝากครรภ์ในคลินิกฝากครรภ์คุณภาพในช่วงเวลาเดียวกัน
36
ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100
9. ร้อยละการให้บริการ WCC มีคุณภาพ A = จำนวนคลินิก WCC ที่ให้บริการมีคุณภาพ B = จำนวนคลินิก WCC ทั้งหมดในจังหวัด
37
Thank you for your Attention
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.