งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

2 2 น้ำหนักร้อยละ 20 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ วัดความสำเร็จการบรรลุเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ น้ำหนักร้อยละ 20 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ วัดความสำเร็จการบรรลุเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ 2553

3  มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัด ความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐานต่อไป  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่ สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัด ความสำเร็จและสามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่าง แท้จริง แต่อย่างไรก็ตาม ยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนด ตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มี ลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม  มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัด ความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐานต่อไป  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่ สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัด ความสำเร็จและสามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่าง แท้จริง แต่อย่างไรก็ตาม ยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนด ตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มี ลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม

4  กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจ ประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว  ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดี แม้ ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหาร จัดการในขั้น Successful Level  กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจ ประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว  ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดี แม้ ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหาร จัดการในขั้น Successful Level

5  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัดความสำเร็จและ สามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่างแท้จริง แต่อย่างไรก็ ตาม ยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อ ความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มีลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิด นวัตกรรม  กำหนดให้เลือกตัวชี้วัดผลลัพธ์แนะนำ จำนวน 2 ตัวชี้วัดในหมวดที่ดำเนินการ (ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดละ 0.5)  หากส่วนราชการจะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติม สามารถดำเนินการได้ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด (ค่าน้ำหนักคะแนนรวมกันไม่เกิน 0.2)  หากส่วนราชการกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติม ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดผลลัพธ์ตาม แผนพัฒนาองค์การในหมวดที่ดำเนินการจะเป็น ดังนี้ -ตัวชี้วัดผลลัพธ์แนะนำ (2 ตัวชี้วัด) จะเหลือค่าน้ำหนักตัวชี้วัดละ 0.4 -ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดเพิ่มเติม 0.2 -ผลรวมค่าน้ำหนักของตัวชี้วัดผลลัพธ์ทั้งหมดรวมกันจะเท่ากับ 1  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัดความสำเร็จและ สามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่างแท้จริง แต่อย่างไรก็ ตาม ยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อ ความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มีลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิด นวัตกรรม  กำหนดให้เลือกตัวชี้วัดผลลัพธ์แนะนำ จำนวน 2 ตัวชี้วัดในหมวดที่ดำเนินการ (ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดละ 0.5)  หากส่วนราชการจะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติม สามารถดำเนินการได้ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด (ค่าน้ำหนักคะแนนรวมกันไม่เกิน 0.2)  หากส่วนราชการกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติม ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดผลลัพธ์ตาม แผนพัฒนาองค์การในหมวดที่ดำเนินการจะเป็น ดังนี้ -ตัวชี้วัดผลลัพธ์แนะนำ (2 ตัวชี้วัด) จะเหลือค่าน้ำหนักตัวชี้วัดละ 0.4 -ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดเพิ่มเติม 0.2 -ผลรวมค่าน้ำหนักของตัวชี้วัดผลลัพธ์ทั้งหมดรวมกันจะเท่ากับ 1

6 แนวทางการกำหนดผลลัพธ์หมวด 7 ปี 52 ประเมินตามเกณฑ์ FL 2 หมวด หมวด 7 = ตัวชี้วัด ตาม คำรับรองฯ + ตัวชี้วัดของ เครื่องมือต่างๆ ที่ ส่งเสริม ปี 53 ประเมินตามเกณฑ์ FL 2 หมวด หมวด 7 = ตัวชี้วัด ที่สะท้อนผลลัพธ์ ของหมวดที่ไม่ได้ ดำเนินการ ปี 54 ประเมินตามเกณฑ์ FL 2 หมวดที่เหลือ หมวด 7 = ตัวชี้วัด ที่สะท้อนผลลัพธ์ ทุกหมวด ปี 55 ประเมินตามเกณฑ์ Successful Level ปี 56 ประเมินตามเกณฑ์ PMQA เล่มเหลือง หมวด 7 = ตัวชี้วัดที่ สะท้อนผลลัพธ์ของ ทุกหมวด ตาม 4 มิติ ในเกณฑ์ PMQA 15 ประเด็น

7 7 วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

8 8 การประเมินผลตัวชี้วัด

9 ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 11.1ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินการตามแผนการพัฒนา องค์การ หมวด11.3ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 12 11.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 44 11.3.1 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะ สำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 1 11.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ ของผลลัพธ์ในการดำเนินการตาม แผนพัฒนาองค์การ 11 11.3.2 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการ ประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน 1 11.1.3 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ใน หมวดที่ส่วนราชการดำเนินการไม่ผ่าน เกณฑ์ฯในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 11 11.3.3 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (2 แผน) 2 664 12 11.2ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของผลลัพธ์ในการ ดำเนินการของส่วนราชการ ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4

10 10 ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1แผนที่ 2รวม 11.1.1ร้อยละของการผ่านเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน (วัด กระบวนการในการดำเนินการ พัฒนาองค์การในหมวดที่ ดำเนินการปีงบประมาณ พ.ศ.2553) 448 การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 12345 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน 60708090100 วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (หมวดภาคบังคับและ หมวดภาคสมัครใจ) ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณา จากจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์เทียบกับ จำนวนข้อทั้งหมดในแต่ละหมวด แล้วนำผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์ การให้คะแนน เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 2.1 -2.7

11 11 แบบฟอร์มที่ 5 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จ ของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด

12 ติดตามความ เคลื่อนไหวและ ข้อมูลเพิ่มเติม Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: www.opdc.go.th/ www.opdc.go.th/ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ/ เอกสารและสื่อ/2553 Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: www.opdc.go.th/ www.opdc.go.th/ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ/ เอกสารและสื่อ/2553


ดาวน์โหลด ppt 1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google