งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดบริการสุขภาพในจังหวัดชายแดน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดบริการสุขภาพในจังหวัดชายแดน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดบริการสุขภาพในจังหวัดชายแดน
อุบลราชธานี - จำปาสัก

2 Out line ข้อมูลทั่วไป ทรัพยากรสาธารณสุข ผลการดำเนินงาน.....
ความท้าทายการดำเนินงาน แผนการดำเนินงานต่อเนื่องในปี 2558

3 อำเภอที่มีเขตพื้นที่ติด สปป.ลาว (8 อำเภอ ระยะทาง 361 กม.)
สองคอน ชนะสมบูรณ์ โพนทอง Points of Entry อำเภอที่มีเขตพื้นที่ติด สปป.ลาว (8 อำเภอ ระยะทาง 361 กม.) อำเภอที่มีเขตพื้นที่ติดกัมพูชา (2 อำเภอ ระยะทาง 67 กม.) This area province are 16,1139 km3, consist of 20 districts and 5 sub-districts. The population have 1.8 millions. This border is Laos and Cambodia. เปลี่ยนรูป ดาว คืออะไร สุขุมา พระวิหาร

4 จังหวัดอุบลราชธานี 25 อำเภอ 219 ตำบล 2,699 หมู่บ้าน
549,758 หลังคาเรือน ประชากร 1,844,669 คน

5 ทรัพยากรด้านสาธารณสุข
โรงพยาบาลศูนย์ แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป 2 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 23 แห่ง 5

6 ศูนย์สุขภาพชุมชน ศสม. 15 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 317 แห่ง
ศสม แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 317 แห่ง ศูนย์สาธารณสุขชุมชน แห่ง รวม แห่ง 6

7 ระบบบริการสาธารณสุขชายแดน

8 ผลการดำเนินงาน

9 จำนวนผู้ป่วยโรคที่เฝ้าระวังชาวต่างชาติ
ที่รักษาในจังหวัดอุบลราชธานี ปี จำนวน (ราย) ปี ผป.จาก สปป.ลาว 91.3% ปี

10 จำนวนผู้ป่วยโรคที่เฝ้าระวังชาวต่างชาติ ที่รักษาใน จ
จำนวนผู้ป่วยโรคที่เฝ้าระวังชาวต่างชาติ ที่รักษาใน จ.อุบลราชธานี 10 อันดับโรคแรก ปี 2557 case

11 สถานพยาบาลที่ผู้ป่วยโรคติดต่อชาวต่างชาติ
เข้ารับการรักษา จ.อุบลราชธานี 10 อันดับแรก ปี 2557 ลำดับ โรงพยาบาล จำนวนผู้ป่วย (ราย) ร้อยละ 1 เขมราฐ 403 35.7 2 บุณฑริก 193 17.1 3 โขงเจียม 153 13.5 4 สิรินธร 103 9.1 5 โพธิ์ไทร 50 4.4 6 วารินชำราบ 34 3.0 7 รพศ.สรรพสิทธิประสงค์ 26 2.3 8 อุบลรักษ์ธนบุรี (เอกชน) 18 1.6 9 นาตาล 17 1.5 10 ตาลสุม 0.4

12 การให้บริการทางการแพทย์ ในกลุ่ม แรงงานต่างชาติ
การขายบัตรประกันสุขภาพแรงงานต่างชาติ ของศูนย์บริการจดทะเบียนแรงงานต่างชาติ แบบเบ็ดเสร็จ (One stop Service) ณ 20 มีนาคม 2558 3,242 บัตร

13 มูลค่ารักษาทั้งหมด (ลบ.) มูลค่ารักษาที่เรียกเก็บได้ (ลบ.)
ข้อมูลค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาลผู้ป่วยต่างชาติ ไม่ขึ้นทะเบียนจังหวัดอุบลราชธานี ปี ปีงบประมาณ มูลค่ารักษาทั้งหมด (ลบ.) มูลค่ารักษาที่เรียกเก็บได้ (ลบ.) ร้อยละ มูลค่าสงเคราะห์ (ลบ.) 2553 27.91 5.59 20.03 22.32 79.97 2554 28.07 1.57 5.61 26.49 94.39 2555 48.87 11.38 23.29 37.48 76.71 2556 54.51 15.69 28.79 38.82 71.21 2557 42.42 18.67 44.01 23.75 55.99 2558 (ตค.-ธค. 57) 10.61 4.62 43.54 5.98 56.46 ที่มา : รายงานการบริการผู้ป่วยต่างด้าวไม่ขึ้นทะเบียน สนง.สสจ.อุบลราชธานี ที่มา : รายงานการให้บริการผู้ป่วยต่างชาติไม่ขึ้นทะเบียน สนง.สสจ.อุบลราชธานี

14 ข้อมูลการบริการผู้ป่วยนอก (OPD)สิทธิ์บุคคลต่างด้าว
แยกรายอำเภอ จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2558 อำเภอ คน ครั้ง เมือง ฯ 19,404 27,263 เขื่องใน 2,854 4,544 ม่วงสามสิบ 842 1,753 ตาลสุม 1,369 1,653 ดอนมดแดง 1,011 1,289 เหล่าเสือโก้ก 583 670 ศรีเมืองใหม่ 3,197 4,165 เขมราฐ 4,582 6,746 ตระการพืชผล 3,859 5,084 กุดข้าวปุ้น 1,277 1,635 โพธิ์ไทร 839 1,322 นาตาล 1,383 1,809 โขงเจียม 1,562 2,343 อำเภอ คน ครั้ง วารินชำราบ 6,391 9,323 พิบูล ฯ 7,374 10,340 สำโรง 420 582 สิรินธร 2,834 3,780 นาเยีย 629 747 สว่างวีระวงศ์ 823 1,047 เดชอุดม 2,840 12,504 นาจะหลวย 881 1,421 น้ำยืน 6,387 10,688 บุณฑริก 3,456 5,114 ทุ่งศรีอุดม 1,692 2,289 น้ำขุ่น 4,227 8,245 รวม 80,716 126,356 ที่มา : HDC สนง.สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี

15 ข้อมูลการบริการผู้ป่วยใน (IPD) สิทธิ์บุคคลต่างด้าว
แยกรายอำเภอ จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2558 อำเภอ คน วัน เมือง ฯ 38 98 เขื่องใน 91 235 ม่วงสามสิบ 9 48 ตาลสุม 6 11 ดอนมดแดง 57 138 เหล่าเสือโก้ก 1 10 ศรีเมืองใหม่ 96 219 เขมราฐ 295 646 ตระการพืชผล 184 420 กุดข้าวปุ้น 23 36 โพธิ์ไทร 2 29 นาตาล 19 43 โขงเจียม 42 110 อำเภอ คน วัน วารินชำราบ 162 499 พิบูล ฯ 221 782 สำโรง - สิรินธร 159 411 นาเยีย 7 12 สว่างวีระวงศ์ 2 3 เดชอุดม 119 238 นาจะหลวย 5 11 น้ำยืน 48 94 บุณฑริก 31 71 ทุ่งศรีอุดม 13 17 น้ำขุ่น รวม 1,639 4,188 ที่มา : HDC สนง.สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี

16 ข้อมูลโรคผู้ป่วยนอก (OPD) สิทธิ์บุคคลต่างด้าว แยกรายโรค จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2558
ลำดับ โรค 1 Diabetes mellitus 2 Dyspepsia 3 Hypertension 4 Common cold 5 Thyrotoxicosis ที่มา : สนง.สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี

17 ข้อมูลโรคผู้ป่วยนอก (IPD) สิทธิ์บุคคลต่างด้าว
แยกรายโรค จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2558 ลำดับ โรค 1 ปอดบวม 2 นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ 3 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย 4 โรคอักเสบติดเชื้อของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 5 เบาหวาน ที่มา : สนง.สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี

18 ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อตามแนวชายแดน

19 Tel_Epid_Champasak

20 ระบบการส่งต่อผู้ป่วย ระหว่าง แขวงจำปาสัก และ จ.อุบลราชธานี
สปป.ลาว ด่านควบคุมโรค ช่องเม็ก รพ. ในแขวงจำปาสัก รพ.สิรินธร รพ.สรรพสิทธิฯ รพ.เอกชน การประสานงาน ระบบส่งต่อ

21 กิจกรรมความร่วมมือ 1. สร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่าง สสจ.อุบลราชธานี
1. สร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่าง สสจ.อุบลราชธานี และแขวงจำปาสัก สปป.ลาว (เริ่มตั้งแต่ปี 2546) 2. ประชุมวิชาการโรคติดต่อชายแดนร่วมกันทุกปี (ปี ) 3. ทีม SRRT ฝึกซ้อมแผนร่วมกัน รับมือโรคติดต่อทุกปี สอบสวนโรคร่วมกันตามพื้นที่แนวชายแดน กรณีมีโรคระบาด สนับสนุนชุดคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูลโรคติดต่อที่สำคัญตามแนวชายแดนทุกสัปดาห์ (Mekong Basin Disease Surveillance : MBDS) การป้องกันควบคุมโรคเอดส์ STI และวัณโรคร่วมกัน การพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยโรคเอดส์/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์/วัณโรค ระหว่างจังหวัดอุบลราชธานีกับแขวงจำปาสัก สปป.ลาว

22 Paksong District Hospital Development Project

23

24 การพัฒนาความร่วมมือด้านการรักษาพยาบาล

25 การพัฒนาความร่วมมือด้านการรักษาพยาบาล

26 ความท้าทายการดำเนินงาน
การสำรวจและจัดทำข้อมูลแรงงานข้ามชาติตามแนวชายแดน การพัฒนาความร่วมมือในการจัดรูปแบบการดูแลแรงงามข้ามชาติตามแนวชายในพื้นที่นำร่อง 2 พื้นที่ในเขต อ.บุณฑริกและ อ.สิรินธร - การพัฒนา อสต.(อาสาสมัครต่างด้าว) ในการทำงานเชิงรุกในการเฝ้าระวังโรคติดต่อชายแดน (ดำเนินการโดยศูนย์ปกป้องและคุมครองสิทธิมนุษยชน และมูลนิธิศุภนิมิต งบประมาณสนับสนุนจาก สสส.) -การพัฒนา Health Post ใน 2 พื้นที่นำร่อง การบูรณาการงานร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐเอกชนและภาคประชาสังคม ในระดับพื้นที่ การสำรวจข้อมูลแรงงานข้ามชาติทุกสัญชาติที่เข้ามาทำงานในพื้นที่ตามแนวชายแดนและในเขตอำเภอขนาดใหญ่ เพื่อนำไปวางแผนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อตามแนวชายแดน

27 ความท้าทายการดำเนินงาน (2)
แบบฟอร์มการสำรวจประชากรข้ามชาติ ทุกสัญชาติ จ.อุบลราชธานี พื้นที่การสำรวจ ตำบล อำเภอ ผู้ที่สำรวจ รายละเอียดการสำรวจ ๑. สัญชาติ □ ลาว □ พม่า □ กัมพูชา □ เวียดนาม □ บังคลาเทศ □ อื่นๆ (ระบุ...) ๒. อายุ ปี เพศ □ ชาย □ หญิง □ เพศที่แรงงานระบุเอง กรณีเป็นผู้ติดตาม โปรดระบุสถานะ และจำนวน.....คน ๓.ประเภทแรงงาน □ ภาคเกษตรกรรม (เช้าไปเย็นกลับ ตามฤดูกาล ถาวร) □ ภาคบริการ (พนักงานบริการ ขายของหน้าร้าน อื่นๆ(ระบุ...) □ ภาคอุตสาหกรรม(การก่อสร้าง) □ ภาคการประมง ๔. การเข้าเมือง □ ถูกกฎหมาย □ ไม่ถูกกฎหมาย ๕. สถานทางหลักประกันสุขภาพ □ มีบัตรประกันสุขภาพ □ ไม่มีบัตรประกันสุขภาพ ๖. สถานบริการรักษาพยาบาลที่เข้าถึงง่าย ๗. ปัญหา/อุปสรรคของแรงงานข้ามชาติที่ค้นพบ

28 ความท้าทายการดำเนินงาน (3)
แบบฟอร์มสรุปผลการสำรวจประชากรข้ามชาติ จ.อุบลราชธานี กลุ่มวัย เข้าเมือง ประเภทแรงงาน บัตรประกันสุขภาพ ปัญหา/อุปสรรค ถูกกม. ไม่ถูก เกษตร บริการ ก่อสร้าง ประมง มี ไม่มี 0-5 ปี วัยรุ่น วัยเรียน วัยทำงาน สูงอายุ

29 แผนงานที่ดำเนินการใน ปี 2558
โครงการพัฒนาการสาธารณสุขชายแดน และช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulation:IHR 2005) เพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุขชายแดน ในการบรรลุเป้าหมาย IHR 2005 พัฒนาศักยภาพทีม SRRT และบุคลากรในพื้นที่ชายแดน จัดการซ้อมแผนรับมือโรคติดต่อร่วมกันทุกปี จัดทำเอกสารความรู้การป้องกันและการควบคุมโรคติดต่อ 3 ภาษา (ไทย ลาว อังกฤษ) ประสานความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างประเทศลาว และกัมพูชา อย่างต่อเนื่อง เฝ้าระวังและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง

30 แผนงานที่ดำเนินการใน ปี 2558
พัฒนาเครือข่ายสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) สู่ 10 อำเภอชายแดน อบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญอาเซียน(อสม.ช อาเซียน) การพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยทุกระบบ ระหว่างจังหวัดอุบลราชธานี -แขวงสะหวันนะเขต-แขวงสาละวัน-แขวงจำปาสัก สปป.ลาว และ จังหวัดอุบลราชธานีกับจังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา การประชุมสรุปบทเรียนการดำเนินการพัฒนาระบบส่งต่อระหว่าง จังหวัดอุบลราชธานี-แขวงสะหวันนะเขต-แขวงสาละวัน-แขวง จำปาสัก สปป.ลาว และจังหวัดอุบลราชธานีกับจังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา

31 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt การจัดบริการสุขภาพในจังหวัดชายแดน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google