ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChulamai Wongkrachang ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์ และศักยภาพ การแข่งขัน การผลิต การตลาดพืชไร่ที่ สำคัญของไทยในภูมิภาค อาเซียน อ้อยโรงงาน
2
สถานการณ์การผลิตอ้อย โรงงานในภูมิภาคอาเซียน country 2012 (2011/12) 2013 (2012/13) Change 2013 over 2012 2014 (2013/14) Change 2014 over 2013 Quantiti es (%) Quantiti es (%) ASEAN169,225. 05 174,428. 11 5,203.063.07179,222.8 2 4,794.712.75 Brunei------- Cambodia1,573.771,548.80-24.97-1.591,577.8029.001.87 Indonesia15,847.8 9 16,776.3 3 928.445.8616,983.34207.011.23 Lao PDR1,055.681,750.00694.3365.772,000.00250.0014.29 Malaysia------- Myanmar9,537.439,413.12-124.31-1.309,523.97110.851.18 Philippines23,769.0 2 25,644.2 8 1,875.267.8926,758.471,114.204.34 Singapore------- Thailand98,400.4 7 100,095. 12 1,695.121.72102,979.2 3 2,883.652.88 Vietnam19,040.8 0 19,200.0 0 159.200.8419,400.00200.001.04 ปริมาณการผลิตอ้อยในกลุ่มอาเซียน ปี 2012-2014 Unit : 1,000 Tons
3
สถานการณ์การผลิตอ้อยโรงงาน ในภูมิภาคอาเซียน country 2012 (2011/12) 2013 (2012/13) Change 2013 over 2012 2014 (2013/14) Change 2014 over 2013 Quantities (%) Quantities (%) ASEAN16,893,562.517,588,000694,437.54.1117,928,812. 5 340,8131.94 Brunei------- Cambodia303,687.5304,3756880.23305,0006250.21 Indonesia2,881,7502,934,937.58.511.853,000,437.565,5002.23 Lao PDR128,062.5218,75053,18870.82250,00031,25014.29 Malaysia------- Myanmar964,250963,062.5-1,188-0.121,058,87595,8139.95 Philippines2,580,687.52,714,000133,3135.172,734,812.520,8130.77 Singapore------- Thailand8,173,2508,590,375417,1255.108,707,812.5117,4381.37 Vietnam1,861,8751,862,5006250.031,871,8759,3750.50 พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานของประเทศในกลุ่มอาเซียน ปี 2012-2014 Unit: Rai
4
ผลผลิตต่อพื้นที่ปลูกอ้อยของประเทศในกลุ่ม อาเซียน ปี 2012-2014
5
สถานการณ์การค้าน้ำตาลใน ภูมิภาคอาเซียน ส่วนแบ่งการส่งออกน้ำตาลของประเทศในกลุ่มอาเซียน ปี 2014
6
สถานการณ์การค้าน้ำตาลใน ภูมิภาคอาเซียน ส่วนแบ่งการนำเข้าน้ำตาลของประเทศใน กลุ่มอาเซียน ปี 2014
7
ศักยภาพการแข่งขันของไทยกับ ประเทศเพื่อนบ้าน ใน ASEAN
9
ปัญหางานส่งเสริมที่เกิดในพื้นที่ 1. การจัดการเขตกรรม 2. เกษตรกรขาดการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม กับพื้นที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 3. ขาดแคลนแรงงานในการเก็บเกี่ยว 4. การระบาดของโรคและแมลง 5. ราคาปัจจัยการผลิตสูง 6. กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานหลักในการ ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตอ้อยครบทั้ง กระบวนการ ทำให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรใน พื้นที่มีบทบาทในการส่งเสริมน้อย
10
ปัญหางานส่งเสริมที่เกิดในพื้นที่ 7. เจ้าหน้าที่มีความรู้วิชาการด้านอ้อย แต่ไม่ค่อย ได้นำความรู้มาใช้ในการถ่ายทอดให้แก่เกษตรกร เท่าที่ควรจึงทำให้ขาดการฝึกฝนการใช้ความรู้เมื่อ ถึงเวลาที่ต้องการถ่ายทอดจริงทำให้ขาดความ เชื่อมั่น 8. เกษตรกรให้ความสำคัญกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ของโรงงานมากกว่าเจ้าหน้าที่ของเรา เนื่องจากมี เรื่องผลประโยชน์ด้านสินเชื่อ และเงินทุนการผลิต ให้แก่เกษตรกร
11
แนวทางการส่งเสริม ( ข้อมูลเชิงรุก – เชิงรับ ) 1) แนวทางการส่งเสริมเชิงรุก 1.1 เพิ่มพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่นาที่ไม่เหมาะสม 1.2 การของบประมาณโครงการด้านอ้อยให้ขอผ่าน อนุกรรมการอ้อยระดับท้องถิ่นในพื้นที่ หรือขอทางงบ พัฒนาจังหวัดและงบพัฒนากลุ่มจังหวัด 2) แนวทางการส่งเสริมเชิงรับ 1) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโรงงานในพื้นที่เหมาะสม 1. เพิ่มผลผลิต 1.1 เพิ่มพันธุ์ดี 1.2 ปรับปรุงดิน 1.3 ทำการวิเคราะห์ดินเพื่อให้ทราบความต้องการธาตุ อาหารที่จำเป็นของพืช 1.4 การให้น้ำ 1.5 การจัดการโรคแมลงวัชพืช
12
แนวทางการส่งเสริม ( ข้อมูลเชิง รุก – เชิงรับ ) 1) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโรงงานในพื้นที่ เหมาะสม ( ต่อ ) 2. ลดต้นทุน 2.1 ใช้พันธุ์ดี ต้านทานโรคแมลง 2.2 ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น ใช้ระบบน้ำหยด เพื่อเพิ่มผลผลิต การใช้พลังงานทางเลือก แสงโซลาร์ เซลล์ และกังหันลมสูบน้ำ 2.3 ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน 2.4 ใช้สารชีวภัณฑ์ทดแทนสารเคมี เช่น เชื้อราเม ตาไรเซียม 2.5 แนะนำการจัดทำบัญชีครัวเรือน – บัญชีฟาร์ม 2.6 เกษตรกรรายย่อยเน้นการใช้แรงงานใน ครัวเรือน 2.7 การใช้เครื่องจักรกลที่เหมาะสมเพื่อลดปัญหา ต้นทุนด้านแรงงานที่สูงขึ้น
13
ขอบคุณ Terima kasih Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.