ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
NontriNet CA RapidSSL CA
SSL Certificate มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ NontriNet CA RapidSSL CA แนะนำ IPv6
2
NontriNet Certificate Services
CA เป็นใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์บนเครือข่ายนนทรี โดยทำหน้าที่ เป็นผู้ออกใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ให้กับเว็บเซิร์ฟเวอร์ของ หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ca.ku.ac.th
3
SSL Certificate ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
IE
4
SSL Certificate ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Chrome
5
SSL Certificate ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Firefox
6
SSL Certificate ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การติดตั้งใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ของเครือข่ายนนทรี
7
SSL Certificate ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การติดตั้งใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ของเครือข่ายนนทรี
8
RapidSSl Wildcard Wildcard SSL Certificate ใบรับรองความปลอดภัยของโดเมนหลัก (Base Domain) โดยความปลอดภัยครอบคลุ่มทุกๆ โดเมนย่อย (multiple sup-domains) สำนักจัดซื้อ 2 โดเมน 2 ปี (ssl.in.th) คือ 1. *.ku.ac.th เช่น webmail.ku.ac.th, login.ku.ac.th 2. *.kasetsart.org
9
RapidSSl Wildcard
10
ปัญหา/ผลกระทบ และแนวทางการแก้ไข
จากการเปลี่ยนชื่อโดเมนเว็บระบบสารสนเทศให้อยู่ภายใต้โดเมน *.ku.ac.th ชื่อ URL เปลี่ยน ต้องแก้ Link ที่หน้าเว็บที่เกี่ยงข้อง จาก std.regis.ku.ac.th -> เช่น (std-regis.ku.ac.th) IPv4 เดิม ไม่มีการแก้ไข ปรับเปลี่ยนที่ระบบ DNS regis.ku.ac.th std.regis.ku.ac.th std-regis.ku.ac.th
11
แนะนำ IPv6 เนื่องจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่ใช้งาน IPv4 นั้น เกิดขึ้นมาก ว่า ๓๐ ปี รวมถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ไม่หยุด ทำให้ปัจจุบัน IPv4 นั้นได้ถูกนามาจัดสรรให้กับผู้ดูแล หมายเลข IP ประจาภูมิภาคต่างๆ (RIR : Regional Internet Registry) จนหมดเรียบร้อยแล้ว ซึ่งส่งผลให้ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตไม่มี IP Address เพียงพอต่อการให้บริการในอนาคตได้ เพื่อรองรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจึงได้มีการคิดค้น หมายเลข IP Address ในรูปแบบใหม่ หรือที่เรียกว่า IPv6
12
แนะนำ IPv6 IPv4 ที่สามารถรองรับการเชื่อมต่อเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้เพียง ๒๓๒ แอดเดรส หรือ ๔,๒๙๔,๙๖๗,๒๙๖ เท่านั้น ในขณะที่ IPv6 รองรับได้มากถึง ๒๑๒๘ หรือ ๓๔๐,๒๘๒,๓๖๖,๙๒๐,๙๓๘,๔๖๓,๔๖๓,๓๗๔,๖๐๗,๔๓๑,๗๖๘,๒๑๑, ๔๕๖ แอดเดรส ดังนั้น เมื่อเทียบกับอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการใช้งาน อินเทอร์เน็ต ก็ยังสามารถใช้งานได้เพียงพออยู่ในอนาคต
13
แนะนำ IPv6 เปรียบเทียบคุณลักษณะการเขียนที่แตกต่างกันดังนี้
14
แนะนำ IPv6 วิธีการแบ่ง IPv6 ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สานักบริการคอมพิวเตอร์ได้รับ IPv6 มา 2 ชุด โดยได้รับมาจากทาง UNINET 1 ชุด และ THAISARN 1 ชุด โดยหมายเลขไอพีที่ได้แสดงดังตารางที่ 1 เนื่องจากไม่สามารถใช้งาน IPv6 ออกอินเทอร์เน็ตได้ 2 ชุดพร้อมกัน เพราะติดปัญหาทางเทคนิค ดังนั้นจึงได้เลือกใช้ IPv6 ที่ได้รับมาจาก UNINET (THAISARN เน้นให้บริการด้านงานวิจัย ไม่ได้เน้นสาหรับการใช้งาน อินเทอร์เน็ตทั่วไป)
15
แนะนำ IPv6 เครือข่ายนี้มี Prefix ขนาด ๔๘ บิต หรือก็คือ 2001:3c8:1303::/48 ที่เหลืออีก ๘๐ บิต (๑๒๘-๔๘ = ๘๐) จะเป็นหมายเลขที่ ระบุอุปกรณ์แต่ละตัวในเครือข่าย (Interface ID) ซึ่ง จะสามารถรองรับได้มากถึง ๒^๘๐ หรือ ๑,๒๐๘,๙๒๕,๘๑๙,๖๑๔,๖๒๙,๑๗๔,๗๐๖,๑๗๖ หมายเลข
16
ช่วงของ IPv6 ที่แบ่งให้ตามวิทยาเขตต่างๆ
17
แนะนำ IPv6
18
แนะนำ IPv6 หมายเหตุ เครื่องหมาย “–“ หมายถึง IPv6 ช่วงนั้นยังไม่ได้ถูกแบ่งใช้งาน ตัวอย่าง IPv6 ของเครือข่าย KUWiN ที่เป็น Vlan 100 จะได้หมายเลข IPv6 2001:3C8:1303:1164::/64 จากตัวเลข 1164 โดยเริ่มจากซ้ายไปขวา แปลความหมายได้ดังนี้ 1 = วิทยาเขตบางเขน 1 = โซน OCS 64 ถ้าแปลงเป็นเลขฐาน 10 จะมีค่าเป็น 100 ซึ่งตรงกับเลขของ Vlan 100
20
Command nslookup/ping for IPv6:
nslookup -type=AAAA ping -6
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.