ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChesda Yongjaiyut ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ” โดย นายสมชัย ธงหาญ
2
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้าของนักศึกษาชั้น ปวช. 2 สาขางานไฟฟ้ากำลัง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา โดยใช้การจัดกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อน โดยนักศึกษาต้องมีผลการเรียนผ่านเกณฑ์คะแนนที่กำหนดคือ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ระดับผลการเรียนของนักเรียนในรายวิชาหม้อแปลงไฟฟ้า ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดคือ ร้อยละ 60 ของคะแนน กิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อน หมายถึง กิจกรรมอย่างหนึ่งที่จัดให้ผู้เรียนได้ช่วยเหลือเกื้อกูลกันอยู่เสมอ คือ เพื่อนช่วยเพื่อนในลักษณะ เก่งช่วยอ่อน
4
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษาระดับชั้น ปวช. 2 แผนกวิชาช่างไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 3 ห้อง คน
5
ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ เป็นแบบประเมินการปฏิบัติงาน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยมีขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือดังนี้
6
ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้
เริ่มต้น การกำหนดกรอบแนวคิดสำหรับการวิจัย ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กำหนดกลุ่มตัวอย่าง ออกแบบ และดำเนินการสร้างเครื่องมือ เครื่องมือถูกต้อง ไม่ ใช่ เก็บรวบรวมข้อมูล แปลความหมายข้อมูล สรุปผล / นำข้อมูลไปใช้ จบ
7
ลำดับขั้นการทำหม้อแปลงไฟฟ้า
ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ ลำดับขั้นการทำหม้อแปลงไฟฟ้า 1. ฝึกทำบ๊อบบิ้นจากกระดาษแข็งก่อน 2. ทำการออกแบบ และคำนวณรอบของขดลวด
8
ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้
4 .เริ่มทำบ๊อบบิ้นจากไฟเบอร์แดง
9
ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้
5. ทำการพัดขดลวดตามที่คำนวณไว้ตอนแรก 6. หม้อแปลงที่เสร็จแล้ว และทำการตรวจเช็คการรั้วลง กราวของไฟฟ้าก่อนอาบน้ำยาวานิส
10
ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้
7. ภาพกิจกรรมระหว่างเรียน
11
สรุปผลการวิจัย จากการทดลองใช้กิจกรรม หลังจากเรียนเสร็จสิ้นในหน่วยการเรียนแล้ว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น พร้อมทั้งกระบวนการคิด ขั้นตอนการปฏิบัติงานได้ดีขึ้นตามลำดับ
12
ผลกระทบที่เกิดขึ้น ผลจากการวิจัยโดยการใช้การสอนกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อน โดยจัดนักเรียนที่มีความเข้าใจในหน่วยการเรียนนั้น ให้คละกลุ่มกับนักเรียนที่ขาดความเข้าใจ ผลการประเมินด้านความรู้(K), ด้านทักษะ(P), ด้านคุณลักษณะ(A) ของนักเรียนหลังการเรียน อยู่ในระดับที่มีการพัฒนาดีขึ้น หลังการทดลองใช้แบบการเรียน
13
ข้อเสนอแนะการวิจัย 1. นักเรียนได้ปรับขบวนการคิดวิเคราะห์ที่เป็นขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานต่อไป 2. การวิจัยครั้งนี้สามารถพัฒนาต่อ และประยุกต์ใช้ในรายวิชาที่ มีการสอนในภาคปฏิบัติงานได้ 3. ควรนำผลการวิจัยในครั้งนี้ไปปรับแผนการสอน เปลี่ยน กระบวนการถ่ายทอดให้สอดคล้องและตรงกับความต้องการ ของผู้เรียนมากยิ่งขึ้น เพื่อนำไปสู่การสนใจเรียนของนักเรียน
14
จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.