งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปรับเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระดับบริการปฐมภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปรับเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระดับบริการปฐมภูมิ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปรับเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระดับบริการปฐมภูมิ
การปรับเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระดับบริการปฐมภูมิ

2 กรอบหลักการ แนวคิด การปรับปรุงข้อบังคับ /เกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ
ชี้ทิศการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ โดยเฉพาะบริการปฐมภูมิ และระบบสุขภาพชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพมาตรฐาน รวมทั้งการส่งเสริมศักยภาพประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะบริการที่ยังเป็นช่องว่าง เช่น บริการกายภาพบำบัด บริการแพทย์แผนไทย บริการ PP บริการทันตกรรม บริการด้านเภสัชกรรม ร้านยาคุณภาพ ฯลฯ เป็นเกณฑ์ที่ตอบสนองความจำเป็น/ปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งเสริมให้ชุมชน ท้องถิ่น ภาคเอกชน และ social enterprise เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพมาตรฐาน หน่วยที่ทำหน้าที่จัดให้มีบริการ ต้องทำหน้าที่ในการให้บริการด้วย กำหนดให้หน่วยที่ทำหน้าที่ให้บริการในระดับปฐมภูมิ หน่วยร่วมให้บริการต่างๆสามารถรับเงินตรงจาก สปสช.ได้ตามเงื่อนไขที่กำหนด สามารถใช้ประโยชน์จากผลการตรวจประเมิน ในการซื้อบริการเชิงกลยุทธ์

3 การจัดประเภทของหน่วยบริการ
ระดับบริการ ประเภทหน่วยบริการเดิม ประเภทหน่วยบริการที่ขอปรับใหม่ หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการร่วมให้บริการ หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการร่วมให้บริการ ปฐมภูมิ (Primary Care) หน่วยบริการร่วมให้บริการ เหตุที่ต้องแยกหนวยบริการรับส่งต่อต้องครอบคลุมที่ค้างคืนกับไม่ค้างคืน เพราะต้องการให้สถานบริการที่บริการแบบOPD สามารถขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการได้ และจะทำให้สามารถคุ้มครองสิทธิ์การรับการช่วยเหลือเบื้องต้นตามม.๔๑ ได้ จำเป็นต้องระบุในสัญญาไหม ว่าจะต้องระบุรพ.รับส่งต่อระดับสูง ไม่อยู่ในข้อบังคับ แต่เป็นการบริหารจัดการเรื่องระบบส่งต่อ ควรจะ ระบุในสัญญากับเอกชน กรณีส่งต่อที่สูงกว่า จะต้องถูกหักค่าใช้จ่าย ฉะนั้น หน่วยบริการรับส่งต่อให้หมายถึงส่งต่อทั่วไปเท่านั้น ที่จะอยู่ในเงื่อนไขของการลงทะเบียนประชาชน ทุติยภูมิ + ตติยภูมิ (Hospital Care) หน่วยบริการที่รับการส่งต่อทั่วไป หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อเฉพาะทาง

4 ภาพระบบบริการปฐมภูมิในอนาคต (5ปีข้างหน้า)
ประชาชนมีศักยภาพดูแลตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงด้าน สุขภาพ มีหมอประจำครอบครัว และรู้ว่าใครคือหมอ ประจำครอบครัว ของตน เมื่อเจ็บป่วยได้รับการดูแล และส่งต่ออย่างเหมาะสม หมอประจำครอบครัว หมายถึง แพทย์ แพทย์ FM และทีมสหวิชาชีพ และมีสมรรถนะด้านเวชศาสตร์ ครอบครัว

5 ภาพระบบบริการปฐมภูมิในอนาคต (5 ปีข้างหน้า)
หน่วยบริการ รับส่งต่อ หน่วยบริการประจำ PCC หน่วย บริการ ร่วมให้ บริการ PC U PC U PC U หน่วยบริการร่วมให้ บริการ PC U PCC : Primary Care Center ( หน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็ดเสร็จ )

6 รูปแบบการจัดบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ
มี 2 รูปแบบ คือ หน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็ดเสร็จ (PCC: Primary Care Center) หมายถึง หน่วยบริการที่สามารถจัดบริการได้ครบถ้วนตามขอบเขตบริการปฐมภูมิ โดยมีแพทย์ปฏิบัติงานประจำ ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ และมีศักยภาพครบถ้วนตามเกณฑ์การตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ สามารถพัฒนาและขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจำได้ ได้แก่ คลินิกชุมชนอบอุ่น ศสม. ศบส. เป็นต้น หน่วยบริการปฐมภูมิ (PCU: Primary Care Unit) เป็นหน่วยบริการที่สามารถจัดบริการได้ตามขอบเขตบริการปฐมภูมิ มีแพทย์ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลและให้คำปรึกษา หรือไปบริการเป็นบางวัน แต่มีทีมสหวิชาชีพ ปฏิบัติงานประจำ ได้แก่ รพ.สต. ศสม. หน่วยบริการปฐมภูมิของรพช./รพท./รพศ.ที่ไม่มีแพทย์ประจำ ศบส. เป็นต้น

7 แนวทางการปรับเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ
ปรับภาษาให้เข้าใจง่าย ลดความสับสนในการตีความ กำหนดบทบาทหน่วยบริการประจำ ในการบริหารจัดการเครือข่ายหน่วย บริการ ให้ชัดเจนขึ้น สอดคล้องกับ DHS ทบทวนปรับปรุงเกณฑ์ให้สอดคล้องกับ service plan และมาตรฐานอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะเกณฑ์บริการ และเกณฑ์บุคลากร การมีส่วนร่วมของ ชุมชน/ท้องถิ่น ปรับแนวทางการให้คะแนนในการตรวจประเมินหน่วยบริการในระดับบริการ ปฐมภูมิ ทั้งรายข้อและการสรุปผลการตรวจประเมิน เพื่อแสดงระดับคุณภาพ และชี้ทิศการพัฒนา การแยกบัญชีธนาคารเพื่อรับเงินกองทุนฯสำหรับบริการระดับปฐมภูมิ แยกจากเงินบำรุงโรงพยาบาล

8 ภาพรวมการปรับปรุงเกณฑ์หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ และหน่วยบริการร่วมให้บริการ

9 เกณฑ์หน่วยบริการประจำ
บทบาท บริหารจัดการระบบ ม 1.1 จัดเครือข่ายหน่วยบริการ ม 1.2 มีหน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็เดสร็จ PCC ม PCU 1 : 10,000 ม การกระจายของ PCU หน่วยบริการประจำ หมวด 1 ศักยภาพเพื่อการเข้าถึง หมวด 2 ประเภทและขอบเขตบริการ หมวด 3 บุคลากร หมวด 4 บริหารจัดการ ม 4.1 คกก.ที่มีส่วนร่วม ม 4.2 แผนยุทธศาสตร์ ม 4.3 การรับฟังความเห็น ม 4.4 ระบบส่งต่อ-รับกลับ ม 4.5 ระบบสนับสนุน ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ ม 4.7 ประสานกับชุมชน ม 2.1 PP ม 2.2 รักษา ม 2.3 ทันตกรรม ม 2.4 เยี่ยมบ้าน ม 2.5 Lab ม 2.6 เภสัชกรรม ม 2.7 กายภาพบำบัด ม 2.8 เวชกรรมไทย ม 3.1 แพทย์ FM ม 3.2 RN/NP ม 3.3 บุคลากรอื่น ม 3.4 ทันตแพทย์ ม 3.5 เภสัชกร ม 3.6 กายภาพบำบัด ม 3.7 แพทย์แผนไทย

10 เกณฑ์หน่วยบริการปฐมภูมิ
ม 1.1 ที่ตั้ง เ ม 1.2 PCU 1 : 10,000 ม 1.3 เวลาเปิดให้บริการ ม 1.4 ติดประกาศเวลาให้บริการ บทบาท ให้บริการ หน่วยบริการ ปฐมภูมิ หมวด 1 ศักยภาพเพื่อการเข้าถึง หมวด 2 ประเภทและขอบเขตบริการ หมวด 3 บุคลากร หมวด 4 บริหารจัดการ หมวด 5 สถานที่ อุปกรณ์ ม 5.1 การจัดสถานที่ทั่วไป ม 5.2 อุปกรณ์งานรักษา-PP ม 5.3 อุปกรณ์ทันตกรระม ม 5.4 อุปกรณ์เภสัชกรรม ม 5.5 อุปกรณ์ Lab ม 5.6 อุปกรณ์กายภาพ ม 5.7 อุปกรณ์เวชกรรมไทย ม 2.1 PP ม 2.2 รักษา ม 2.3 ทันตกรรม ม 2.4 เยี่ยมบ้าน ม 2.5 Lab ม 2.6 เภสัชกรรม ม 2.7 กายภาพบำบัด ม 2.8 เวชกรรมไทย ม 4.1 คกก.ที่มีส่วนร่วม ม 4.2 แผนปฏิบัติงาน ม 4.3 การรับฟังความเห็น ม 4.4 ระบบติดต่อ-ให้การปรึกษา ม 4.5 ระบบข้อมูลสารสนเทศ ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ ม 4.7 ประสานกับชุมชน ม 3.1 แพทย์ FM ม 3.2 RN/NP ม 3.3 บุคลากรอื่น ม 3.4 ทันตแพทย์ ม 3.5 เภสัชกร ม 3.6 กายภาพบำบัด ม 3.7 แพทย์แผนไทย

11 การกำหนดเกณฑ์คะแนน 3 = ผ่านทำได้เกินเกณฑ์ 2 = ผ่าน (เป็นไปตามเกณฑ์)
Max of Min 1 = ผ่านแบบมีเงื่อนไข 0 = ไม่ผ่าน

12 สิ่งที่เปลี่ยนแปลง

13 หมวด 1 ศักยภาพการจัดบริการ ให้ประชาชนเข้าถึง
หน่วยบริการประจำ ม 1.1 จัดเครือข่ายหน่วยบริการ ม 1.2 มีหน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็ดเสร็จ PCC ม PCU 1 : 10,000 ม การกระจายของ PCU หน่วยบริการปฐมภูมิ ม 1.1 ที่ตั้ง ม 1.2 PCU 1 : 10,000 ม 1.3 เวลาเปิดให้บริการ ม 1.4 ติดประกาศเวลาให้บริการ

14 หมวด 1 ศักยภาพการจัดบริการ ให้ประชาชนเข้าถึง
หน่วยบริการประจำ ม1.1 มีการจัดเครือข่ายบริการปฐมภูมิ และระบบรับส่งต่อเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการ ปรับแนวทางพิจารณา องคประกอบของเครือข่ายหน่วยบริการ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้: วิธีการสื่อสาร การเข้าถึงบริการของประชาชน: OP visit PCU/รพ. ตามเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนด ต้องครอบคลุมทั้ง 3 ข้อ และพิจารณาผลงานข้อ 3 ประกอบด้วย

15 เครือข่ายหน่วยบริการ
รับส่งต่อ หน่วยบริการประจำ PCC หน่วย บริการ ร่วมให้ บริการ PC U PC U PC U หน่วยบริการร่วมให้ บริการ PC U

16 หมวด 1 ศักยภาพการจัดบริการ ให้ประชาชนเข้าถึง
หน่วยบริการประจำ ม1.2 มีหน่วยบริการปฐมภูมิแบบเบ็ดเสร็จด้วยตนเอง อย่างน้อย 1 แห่ง ปรับเกณฑ์ เพื่อเพิ่มคุณภาพและให้มีความชัดเจน - มีแพทย์ประจำ ,ผ่านเกณฑ์หน่วยปฐมภูมิ สามารถพัฒนาและขอขึ้น ทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจำได้ - จัดโดยหน่วยบริการประจำ (กรณีเป็น รพ. จะต้องจัดบริการปฐมภูมิ แยก จากบริการผป.นอกของ รพ.) - ไปร่วมจัดบริการปฐมภูมิ กับ รพ.สต. หรือหน่วยบริการปฐมภูมิ ใน เครือข่ายได้ - ยืดหยุ่น สำหรับหน่วยบริการประจำ รพ. ที่มีปชก.รับผิดชอบไม่เกิน 10,000 คน

17 หมวด 1 ศักยภาพการจัดบริการ ให้ประชาชนเข้าถึง
หน่วยบริการประจำ ม1.3.1 อัตราส่วน PCU 1 : 10,000 ปรับวิธีการพิจารณา และการให้คะแนน เดิม พิจารณาในภาพรวม โดยใช้วิธีคำนวณจำนวน PCU ที่ควรมี เทียบกับที่มีจริง ใหม่ ใช้วิธีนับจำนวน PCU ที่ดูแลประชากร ไม่เกิน 10,000 คน เทียบกับจำนวนทั้งหมด ม1.3.2 การกระจายของ PCU เดิม พิจารณาจากร้อยละของปชก.ที่เดินทางเข้าถึงภายใน 30 นาที ใหม่ พิจารณาจาก - การมีแผนทีแสดงการเข้าถึงบริการ มีแนวทางการ - จัดบริการเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการภายใน 30 นาที - การจัดระบบ/มีแผนกรณีการเกิดภัยพิบัติ

18 หมวด 1 ศักยภาพการจัดบริการ ให้ประชาชนเข้าถึง
หน่วยบริการปฐมภูมิ ม1.1 ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่สะดวกต้อการเข้ารับบริการ ปรับแนวทางพิจารณา - เพิ่มการมีแผนที่แสดงข้อมูลสำคัญ และการมีแผนจัดบริการสำหรับประชาชนที่เข้าถึงยาก

19 หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
เพิ่ม “หลักเวชศาสตร์ครอบครัว” หน่วยบริการประจำ ม 2.1 PP ม 2.2 รักษา ม 2.3 ทันตกรรม ม 2.4 เยี่ยมบ้าน ม 2.5 Lab ม 2.6 เภสัชกรรม ม 2.7 กายภาพบำบัด ม 2.8 เวชกรรมไทย ใช้ผลงานบริการ ประกอบการพิจารณา มีกระบวนการคุณภาพ PDCA, CQI หน่วยบริการปฐมภูมิ .

20 หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
หน่วยบริการประจำ ม2.1 บริการ PP ปรับวิธีการพิจารณาให้มีความชัดเจน และการให้คะแนน แนวทางการพิจารณา: 1. หน่วยบริการประจำ จัดการให้ PCU จัดบริการ - ครอบคลุม Basic PP Service - มีระบบติดตามความต่อเนื่อง - มีและใช้สมุดบันทึกสุขภาพ - มีการทบทวน ประเมินความครอบคลุมบริการของกลุ่มเป้าหมาย 2. รายการ Basic PP Service 3. จัดระบบติดตาม กำกับ ผลการดำเนินงาน ของ PCU การให้คะแนน: พิจารณาผลงานความครอบคลุมบริการในกลุ่มเป้าหมาย หน่วยบริการปฐมภูมิ ม2.1 บริการ PP ปรับวิธีการพิจารณาให้มีความชัดเจน และการให้คะแนน - แนวทางพิจารณาคล้ายกับหน่วยบริการประจำ แต่ PCU ทำหน้าที่ให้บริการ

21 หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
หน่วยบริการประจำ ม2.3 บริการทันตกรรม เพิ่ม: การชี้ทิศทางการมีคลินิกให้บริการที่มีทันตบุคลากรปฏิบัติงานประจำ (ใน PCU ที่มีปชก.มากกว่า 10,000 คน) พิจารณาผลงานการให้บริการร่วมด้วย หน่วยบริการปฐมภูมิ ม2.3 บริการทันตกรรม เช่นเดียวกับหน่วยบริการประจำ ต่างกันที่บทบาท

22 หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
หน่วยบริการประจำ ม2.5 Lab เพิ่มคุณภาพ: Lab ที่ทำเอง หรือ ส่งต่อ ต้องมีระบบประกันคุณภาพภายใน /ภายนอก ปรับแนวทางการพิจาณราให้มีความชัดเจน หน่วยบริการปฐมภูมิ ม2.5 Lab ปรับแนวทางการพิจาณราให้มีความชัดเจน

23 หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
หน่วยบริการประจำ ม2.6 เภสัชกรรม ปรับเกณฑ์/แนวทางการพิจารณาที่มีรายละเอียดความชัดเจน จัดการระบบ: มีคณะ กก. มีการกำหนดกรอบบัญชียาฯ จัดหายาที่เป็นมาตรฐานเดียวกันภายในหน่วยบริการประจำ บริการเภสัชกรรม ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ งานบริหารเวชภัณฑ์ งานบริการเภสัชกรรม งานบริบาลเภสัชกรรม และงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพในชุมชน หน่วยบริการปฐมภูมิ ม2.6 เภสัชกรรม ปรับเกณฑ์/แนวทางการพิจารณาที่มีรายละเอียดความชัดเจน ในบทบาทผู้ให้บริการ

24 หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
หน่วยบริการประจำ ม2.7 กายภาพบำบัด เป็นเกณฑ์ที่เพิ่มเข้ามาใหม่ เป็นบริการ ที่จัดในภาพรวมของหน่วยบริการประจำ โดยมีอยู่ใน PCU ใด PCU หนึ่ง แนวทางพิจารณา: ตรวจประเมินวินิจฉัย วางแผนดูแล/กำหนดกลุ่มเป้าหมาย ดูแลรักษา/ส่งเสริม/ป้องกัน/ฟื้นฟู มีระบบส่งต่อ-รับกลับ ทำงานรวมกับชุมชน จัดบริการโดยชุมชน CBR ใช้ผลการดำเนินงาน ประกอบการพิจารณาด้วย

25 หมวด 2 จัดบริการตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
หน่วยบริการประจำ ม2.8 เวชกรรมไทย เป็นเกณฑ์ที่เพิ่มเข้ามาใหม่ ประกอบด้วย เภสัชกรรมไทย : การใช้สมุนไพร นวดไทย ผดุงครรภ์ไทย การให้คะแนน โดยการนับ PCU ที่จัดบริการ อย่างน้อยต้องมีบริการ 1,2 หน่วยบริการปฐมภูมิ ม2.8 เวชกรรมไทย ปรับเกณฑ์/แนวทางการพิจารณาที่มีรายละเอียดความชัดเจน ในบทบาทผู้ให้บริการ

26 ม 3.1 แพทย์/FM ม 3.2 RN/NP ม 3.3 บุคลากรอื่น ม 3.4 ทันตแพทย์
หมวด 3 บุคลากร สิ่งที่เปลี่ยนแปลง ปรับเชิงปริมาณ ให้ สอดคล้องกับ สถานการณ์, Service Plan เพิ่มคุณภาพ สมรรถนะFM ใช้ผลงานการ ให้บริการ ประกอบการพิจารณา การให้คะแนนหน่วย บริการประจำ อิงผล การผ่านเกณฑ์ของ PCU หน่วยบริการประจำ ม 3.1 แพทย์/FM ม 3.2 RN/NP ม 3.3 บุคลากรอื่น ม 3.4 ทันตแพทย์ ม 3.5 เภสัชกรรม ม 3.6 กายภาพบำบัด ม 3.7 เวชกรรมไทย หน่วยบริการปฐมภูมิ .

27 แพทย์ /FM 1:10,000 โดยเป็น FM 1 คนต่อ 1 หน่วยบริการประจำ
หมวด 3 บุคลากร แพทย์ /FM 1:10,000 โดยเป็น FM 1 คนต่อ 1 หน่วยบริการประจำ ทันตแพทย์ 3 ชั่วโมงต่อ 1000 ต่อ สัปดาห์ เภสัชกร 1:10,000 นักกายภาพบำบัด 1:10,000 เผลงานบริการ เภสัชฯปฐมภูมิ FM 200 visit 10,000 3 /100 visit 10,000 10,000 30,000 1 30,000 30,000 แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร นักกายภาพบำบัด (ชั่วโมง./1000/สป.)

28 RN/NP 1:5,000 โดยเป็น NP อย่างน้อย 1 คนต่อ 1 PCU
หมวด 3 บุคลากร RN/NP 1:5,000 โดยเป็น NP อย่างน้อย 1 คนต่อ 1 PCU บุคลากรอื่น สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 1:1,250 โดยเป็น ป.ตรีอย่างน้อย 50 % แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยอย่างน้อย 1 คน / 1 หน่วยบริการประจำ บุคลากรพิจารณาตามบริการเวชกรรมไทยที่จัด ป.ตรี>50% TM ป.ตรี NP2,500 5,000/1NP TM 1,250 10,000 2,500 ผช.แผนไทย พยาบาล บุคลากรอื่น แพทย์แผนไทย

29 หมวด 4 บริหารจัดการ ม 4.1 มีคณะกรรมการที่มีส่วนร่วม
ม 4.2 มีแผนยุทธศาสตร์ ม 4.3 การรับฟังความเห็น ม 4.4 ระบบส่งต่อ-รับกลับ ม 4.5 ระบบสนับสนุน ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ ม 4.7 ประสานกับชุมชน หน่วยบริการประจำ ม 4.1 มีคณะกรรมการที่มีส่วนร่วม ม 4.2 มีแผนปฏิบัติงาน ม 4.3 การรับฟังความเห็น ม 4.4 ระบบติดต่อ-ให้การปรึกษา ม 4.5 ระบบข้อมูลสารสนเทศ ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ ม 4.7 ประสานกับชุมชน หน่วยบริการปฐมภูมิ

30 หมวด 4 บริหารจัดการ ม 4.4 ระบบส่งต่อ-ส่งกลับ
ม ระบบส่งต่อ-ส่งกลับ ภายใน-ภายนอก ม ระยะเวลา จาก PC – Hospital ม ยานพาหนะ ม อำนวยความสะดวก ส่งต่อ กลุ่ม sub acute ม ส่งต่อ Lab ม ส่งต่อทันตกรรม ม ข้อมูลการส่งต่อ หน่วยบริการประจำ ม 4.4 ระบบส่งต่อ-ส่งกลับ

31 หมวด 4 บริหารจัดการ ม 4.5 ระบบสนับสนุน
ม บุคลากร (HRM) ม บุคลากร (HRD) ม สถานที่ ยา วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ม ระบบติดต่อสื่อสาร/ให้การปรึกษา ม ระบบข้อมูลสารสนเทศเชื่อมโยงในเครือข่าย หน่วยบริการประจำ ม 4.5 ระบบสนับสนุน ม 5 สถานที่ ยา วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ม 4.4 ระบบติดต่อสื่อสาร/ให้การปรึกษา ม 4.5 ระบบข้อมูลสารสนเทศเชื่อมโยงในเครือข่าย หน่วยบริการปฐมภูมิ

32 หมวด 4 บริหารจัดการ ม 4.6.1 ระบบบริหารจัดการคุณภาพ ม 4.6.2 CPG
ม การจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ม ระบบป้องกันการติดเชื้อในสถานพยาบาล ม การพัฒนาวิชาการ วิจัย นวตกรรม หน่วยบริการประจำ ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ ม ระบบบริหารจัดการคุณภาพ ม CPG ม การจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ม ระบบป้องกันการติดเชื้อในสถานพยาบาล ม การพัฒนาวิชาการ วิจัย นวตกรรม หน่วยบริการปฐมภูมิ ม 4.6 ระบบพัฒนาคุณภาพ

33 กำหนดข้อเกณฑ์ที่เป็น 0 ไม่ได้
หน่วยบริการประจำ: ม1.1 ,ม1.2 , (ทั้งหมด 40 ข้อ) ม2 , ม3 , ม 4.4.1, ม ม4.5.5, ม ม4.6.4 รวม 24 ข้อ (ร้อยละ 60.0) หน่วยบริการปฐมภูมิ: ม1.1 ,ม1.3 , (ทั้งหมด 37 ข้อ) ม2 , ม3 , ม 4.4.1, ม4.5 - ม4.5.5, ม ม4.6.4 รวม 24 ข้อ (ร้อยละ 64.9)

34 ผลการประเมิน ผลการพิจารณา
แนวทางการสรุปผลการตรวจประเมินหน่วยบริการประจำ ผลการประเมิน ผลการพิจารณา ไม่ผ่าน มีคะแนน 0 ในเกณฑ์ที่กำหนด หรือ มีข้อที่มีคะแนน 0 มากกว่าร้อยละ 40 หน่วยบริการมีคุณลักษณะต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพบริการ ผ่าน กลุ่มที่ 1 ข้อที่มีคะแนน 1 บางข้อ หรือมีคะแนน 0 น้อยกว่า ร้อยละ 40 และไม่มีคะแนน 0 ในเกณฑ์ที่กำหนด หน่วยบริการมีคุณลักษณะไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ โดยส่วนขาดสามารถพัฒนา/แก้ไขได้ในระยะเวลาที่กำหนด กลุ่มที่ 2 ทุกข้อมีคะแนน 2 หน่วยบริการมีคุณลักษณะเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด กลุ่มที่ 3 มีคะแนน 3 บางข้อ และ ข้ออื่นๆ เป็น 2 ทุกข้อ หน่วยบริการมีคุณลักษณะครบถ้วน และมีบางส่วนสูงกว่ามาตรฐานที่กำหนด

35 ผลการประเมิน ผลการพิจารณา
แนวทางการสรุปผลการตรวจประเมินหน่วยบริการปฐมภูมิ ผลการประเมิน ผลการพิจารณา ไม่ผ่าน มีคะแนน 0 ในเกณฑ์ที่กำหนด หรือ มีข้อที่มีคะแนน 0 มากกว่าร้อยละ 35.1 หน่วยบริการมีคุณลักษณะต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพบริการ ผ่าน กลุ่มที่ 1 ข้อที่มีคะแนน 1 บางข้อ หรือมีคะแนน 0 น้อยกว่า ร้อยละ 35.1 และไม่มีคะแนน 0 ในเกณฑ์ที่กำหนด หน่วยบริการมีคุณลักษณะไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ โดยส่วนขาดสามารถพัฒนา/แก้ไขได้ในระยะเวลาที่กำหนด กลุ่มที่ 2 ทุกข้อมีคะแนน 2 หน่วยบริการมีคุณลักษณะเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด กลุ่มที่ 3 มีคะแนน 3 บางข้อ และ ข้ออื่นๆ เป็น 2 ทุกข้อ หน่วยบริการมีคุณลักษณะครบถ้วน และมีบางส่วนสูงกว่ามาตรฐานที่กำหนด

36 เกณฑ์หน่วยบริการร่วมให้บริการ
เวชกรรม ทันตกรรม เภสัชกรรม (ร้านยาคุณภาพ) กายภาพบำบัด เทคนิคการแพทย์ เวชกรรมไทย อื่นๆ เช่น VCT clinic, Day care (LTC),CKD clinic , DOTฯลฯ

37 เกณฑ์หน่วยบริการร่วมให้บริการ
จังหวัดเดียวกัน/รอยต่อ ปชช.เดินทางเข้าถึงสะดวก บทบาท ให้บริการ หน่วยบริการร่วมให้บริการ สถานที่ตั้ง ระบบข้อมูลสารสนเทศ เวลาให้บริการ บริการที่จัด บุคลากร อุปกรณ์ เครื่องมือ มีระบบบันทึกข้อมูล เชื่อมโยง กับหน่วยบริการประจำ และสำนักงาน รายงาน สปสช. เป็นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานพยาบาล ร้านยาคุณภาพ ติดประกาศให้ ปชช. เห็นได้ชัดเจน ผู้ประกอบวิชาชีพ/ผู้ประกอบโรคศิลป์ สอดคล้องกับบริการที่จัด อย่างน้อย 1 คน และพิจารณาตามภาระงาน เป็นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานพยาบาล ร้านยาคุณภาพ


ดาวน์โหลด ppt การปรับเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระดับบริการปฐมภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google