ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยCintna Wisetkaew ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
เป็นสื่อประกอบการสอน ทำให้นักศึกษาเข้าใจ กระบวนวิชาพลศาสตร์กระบวนการและการ ควบคุมมากยิ่งขึ้น และยังเป็นการสร้างโปรแกรม ดังกล่าวขึ้นเป็นครั้งแรก ในวิช่วลเบสิค 6.3 ของ ไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซล 2003 โปรแกรมสาธิตตัวควบคุมแบบพรอบพอชั่น นอลและอินทิกรัล นพพล เล็ก สวัสดิ์ ลักษณะของผลงานประดิษฐ์คิดค้น เอกสารอ้างอิง 1. 1.Dixon, D.C. (1997). Rudiments of Process Dynamics & Control. School of Chemical Engineering & Industrial Chemistry, University of New South Wales (UNSW): Sydney, Australia, 120 pp. 2. 2.Hesketh, T. and Clements D. (1998). Lecture Notes in Process Dynamics & Control. School of Electrical Engineering, University of New South Wales (UNSW): Sydney, Australia, 135 pp. 3. 3.http://core.ecu.edu/psyc/wuenschk/StatHelp/IV-DV.htmhttp://core.ecu.edu/psyc/wuenschk/StatHelp/IV-DV.htm 4. 4.Kreyszig, E. (1993). Advanced Engineering Mathematics, 7th edn. John Wileys & Sons: Singapore, Chapter 6. 5. 5.Marlin, T.E. (1995). Process Control: Designing Processes and Control Systems for Dynamic Performance. McGraw-Hill: Singapore, 954 pp. 6. 6.Stephanopoulos, G. (1984). Chemical Process Control: An Introduction to Theory and Practice. Prentice/Hall International: New Jersey, 695 pp. ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะเวลาในการประดิษฐ์คิดค้น 30 เมษายน 2548 ถึง 30 เมษายน พ. ศ. 2551 ลักษณะของผลงานอื่นๆ ซึ่งมีใช้อยู่ในปัจจุบันที่เกี่ยวข้อง ยังไม่ปรากฏโปรแกรมเพื่อการศึกษาในกระบวน วิชาพลศาสตร์กระบวนการและการควบคุมใน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และคาดว่ายังไม่มีการทำ โปรแกรมนี้ขึ้นใช้ประกอบการสอนในประเทศไทย ในปัจจุบันการศึกษาเรื่องดังกล่าวนักศึกษาต้อง สร้างแผ่นงานเอ็กซ์เซลขึ้นเองและปรับสภาวะ ค่าคงที่ต่างๆ ซึ่งอาจมีข้อผิดพลาดและยุ่งยาก ซับซ้อน ทำให้เกิดความรู้สึกว่าการศึกษากระบวน วิชานี้ยากและไม่น่าสนใจ ข้อเสียหรือข้อบกพร่องของผลงานอื่นๆ ที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน โปรแกรมที่ทำขึ้นประกอบการศึกษาใน ต่างประเทศมีราคาแพง และอาจไม่สัมพันธ์กับ เนื้อหากระบวนวิชาที่สอนอยู่ ในภาควิชา วิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การทำโปรแกรมขึ้นใช้เอง จะทำให้สะดวกในการใช้, ปรับแก้ส่วนที่ยังไม่ เหมาะสม หรือเพิ่มเนื้อหาเข้าในโปรแกรมได้อย่าง สะดวก เหมาะสมกับนักศึกษา ข้อดีของผลงานประดิษฐ์คิดค้นนี้ เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบไว้ใน Visual Basic ในสมุดงานไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซล ซึ่งหาใช้ได้ ง่าย เพราะคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ในปัจจุบันมักมี ไมโครซอฟท์ออฟฟิซติดตั้งอยู่ สามารถขยาย ขอบเขตของโปรแกรมไปเพื่อใช้สำหรับงาน เฉพาะอย่าง หรือร่วมกับโปรแกรมอื่นที่ออกแบบ ไว้ไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซลได้ถ้าต้องการ ตัวควบคุมแบบพรอบพอชั่นนอล ออฟเซท (Offset) ที่เกิดขึ้นกับระบบควบคุม ตัวควบคุมที่มีเฉพาะค่า K c จะต้องมีออฟเซทเพราะค่า ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจะกลายเป็นศูนย์ไม่ได้ ตัว ควบคุมจะเปลี่ยนแปลงค่าตัวแปรควบคุมได้จะต้องมีค่า ความคลาดเคลื่อนที่ระดับหนึ่งเสมอ ถ้าค่า = 0 จะ ทำให้ P = 0 ด้วย หรือไม่มีการควบคุมเกิดขึ้น แต่ใน ความเป็นจริงระบบมีการควบคุมอยู่ตลอด ( เนื่องจาก P ≠ 0) ดังนั้นค่าความคลาดเคลื่อนจึงเป็นศูนย์ไม่ได้ ในกรณีที่ใช้แต่ตัวควบคุมพรอบพอชั่นนอล การศึกษาผลกระทบของค่า K c ต่อออฟเซทของระบบควบคุม
2
ตัวควบคุมแบบพรอบพอชั่นนอลทำให้เกิดออฟ เซท ที่ไม่อาจขจัดออกไปจากระบบได้ในกรณีที่ตัว แปรป้อนเข้าเกิดดิสเทอร์บแบนซ์แบบขั้น นอกจากนั้นถ้าเกิดดริฟท์ (drift) กับดิสเทอร์บ แบนซ์ดังรูปด้านล่าง การปรับเฉพาะค่า K c อาจไม่ เพียงพอ และช่วงที่ปรับค่าได้อาจมีจำกัด เว้นแต่ จะนำตัวควบคุมแบบอินทิกรัลมาแก้ปัญหา โปรแกรมสาธิตตัวควบคุมแบบพรอบพอชั่น นอลและอินทิกรัล นพพล เล็ก สวัสดิ์ ข้อเสียของตัวควบคุมแบบพรอบพอชั่นนอล ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ www.agro.cmu.ac.th/department/fe ตัวควบคุมแบบพรอบพอชั่นนอล - อินทิกรัล การศึกษาผลกระทบของค่า K c และ I ต่อระบบควบคุม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.