ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ตำรวจร่วมมวลชน ลดอาชญากรรม(ตมอ.)
พลตำรวจตรี โกสินทร์ หินเธาว์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา ชำนาญสุข
3
เป้าหมาย:การนำแบบจำลอง ตมอ. ที่เคยผ่านการศึกษาวิจัย(งบฯสกว
เป้าหมาย:การนำแบบจำลอง ตมอ.ที่เคยผ่านการศึกษาวิจัย(งบฯสกว.10ล้านบาท)มาปฏิบัติจริงที่ ฉะเชิงเทรา พื้นที่วิจัย ปีพ.ศ.2554 พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น เชียงใหม่ นครสวรรค์ นครปฐม นครศรีธรรมราช สงขลา และ บก.น.9
4
การคัดเลือกพื้นที่ มวลชนและตำรวจท้องที่พร้อมที่จะทำงานร่วมกัน
ด้านกำลังคน ความเต็มใจสมัครใจ การมีอยู่ของปัญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นใน พื้นที่
5
3หลักการสำคัญของ ตมอ. การแสวงหา “คณะกรรมการ ตมอ.” โดยมีเลขานุการ(ตำรวจ)ที่เข้มแข็ง การจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการ ตมอ.” การดำเนินการสร้างการมีส่วนในการ ลดอาชญากรรมตามหลักการ ตมอ. 7 ขั้นตอน
6
แนวคิดและหลักการ ตมอ. - คณะกรรมการ ตมอ. การจัดการความรู้ -coreteam
โครงสร้างบนฐานชุมชน การขับเคลื่อนด้วยกระบวนการ - ศูนย์ปฏิบัติการ ตมอ ทางสังคม - คณะกรรมการ ตมอ. - ชุดปฏิบัติการ ตมอ. การจัดการความรู้ -coreteam -เทคโนโลยีการสื่อสารความรู้ การปรับเปลี่ยนวิธีคิดของตำรวจและมวลชน -ตำรวจปรับ5มวลชนปรับ3
7
ตำรวจปรับ5มวลชนปรับ3 1.ปรับพฤติกรรมการทำงานจากเชิงรับเป็นเชิงรุก
2.ปรับความคิดที่จะยอมรับความช่วยเหลือสนับสนุนจากประชาชนในการแก้ไข ปัญหาอาชญากรรมในด้านต่างๆ 3.ปรับเพิ่มความตั้งใจในการทำงานให้สูงขึ้นมากพอที่จะแสดงให้ผู้อื่นเห็นได้อย่าง ชัดเจน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้มวลชน 4.ปรับจิตใจให้อ่อนน้อมแต่แข็งแกร่งเพียงพอที่จะทำงานร่วมกับมวลชนจำนวนมาก ที่มีความหลากหลายทางความคิด และความต้องการ 5.ปรับวิธีคิดและการทำงานให้เป็นระบบอย่างจริงจัง โดยมีการใช้ระบบข้อมูลที่ ถูกต้อง ครบถ้วน และรอบด้าน มีการวางแผนงานที่แน่ชัด มีการปฏิบัติตาม แผนที่มีประสิทธิภาพ มีการประเมินผลการปฏิบัติการและปรับปรุงการแก้ไขปัญหา อาชญากรรมให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
8
ตำรวจปรับ5มวลชนปรับ3 1.ปรับเปลี่ยนความเชื่อที่ว่า หน้าที่ในการลดอาชญากรรมเป็น งานในความรับผิดชอบของตำรวจแต่เพียงฝ่ายเดียวเปลี่ยนเป็นมี วิธีคิดว่าหน้าที่และความรับผิดชอบในการลดอาชญากรรมเป็น ของตำรวจและมวลชนร่วมกัน 2.ปรับจิตใจให้มีจิตอาสาที่พร้อมจะเข้ามามีส่วนร่วมกับตำรวจใน การลดอาชญากรรมในพื้นที่ของตนเองเท่าที่สามารถจะร่วมมือได้ ตามช่วงเวลาและโอกาส 3.ปรับความคิดที่จะยอมรับว่าไม่มีใครที่จะได้รับความเดือดร้อน จากปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่ได้อย่างแท้จริงนอกจากมวลชน ในพื้นที่นั้นเอง
9
การแสวงหา คณะกรรมการ ตมอ.
บทบาทและหน้าที่ในคณะกรรมการ ตมอ. ฝ่ายกำลังพล ฝ่ายงบประมาณ ฝ่ายวัสดุอุปกรณ์ ฝ่ายการข่าว ฝ่ายบริหารจัดการ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ต้องไม่ยุ่งเกี่ยวกับการกระทำที่ผิดหมาย
10
เลขานุการ คณะกรรมการ ตมอ.
ต้องเป็นตำรวจ ทำหน้าที่บริหารจัดการเรื่องต่างๆ ข้อมูลอาชญากรรม การวิเคราะห์ปัญหาและแนว ทางแก้ไขอาชญากรรม จัดการประชุม พร้อมจัดทำ เอกสารต่างๆ
11
ศูนย์ปฏิบัติการ ตมอ. ไม่อยู่ในพื้นที่ทำการของ สถานีตำรวจ เพื่อให้เป็น งานมวลชนอย่างแท้จริงไม่ ถูกครอบงำโดยตำรวจ
12
หลักการลดอาชญากรรม ตามแนวทาง ตมอ.7ขั้นตอน
1.ตรวจสอบสภาพปัญหาอาชญากรรม 2.วิเคราะห์สภาพปัญหาอาชญากรรมของพื้นที่(เหยื่อ, ผู้กระทำผิด,สภาพแวดล้อม,ผู้สนับสนุนการกระทำผิด.แผน ประทุษกรรม) 3.การเลือกประเภทอาชญากรรมที่สามารถใช้หลักการ ตมอ.ในการดำเนินการ 4.วางแผนการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ 5.ลงมือปฏิบัติตามแผนที่ได้วางแผนไว้ 6.ตรวจสอบ/ประเมินผลตามแผนท่ีได้วางไว้ 7.ปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
13
แนวทางปฏิบัติการ 1. คัดเลือกชุมชุมเพื่อดำเนินโครงการ ตมอ.
2. ประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินโครงการ ตมอ. ให้แก่ตำรวจทุกท้องที่ ทุกระดับ
14
แนวทางปฏิบัติการ 3. ประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจแนวทางดำเนินโครงการ ตมอ. ให้แก่มวลชนในชุมชนที่ร่วมโครงการ
15
แนวทางปฏิบัติการ 4. กำกับติดตามและดำเนินการวิจัยการดำเนินโครงการ เพื่อนำเสนอต่อ บช.ภ.2และ ตร.
16
พี่โก๋ พี่โก๋ อ.ปู
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.