งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

 จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: " จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2

3  จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ เคยได้รับเชื้อโรคปากและ เท้าเปื่อยมาก่อน โดยจังหวัดที่พบร้อยละของการตรวจ พบ NSP+ สูงสุดคือ จังหวัดนครสวรรค์ คิดเป็น 50% ส่วนจังหวัดที่ตรวจพบ NSP+ ต่ำสุดคือจังหวัด กำแพงเพชร และจังหวัดพิจิตร คิดเป็น 0%

4 ชนิดของไตเตอร์ที่พบในตัวอย่างที่มีผล NSP+ สูงสุดคือ type - O คิดเป็น 5.05% และพบตัวอย่างที่มีผล NSP+ แต่ไม่พบระดับภูมิคุ้มกันเลย คิดเป็นร้อยละ 16.07% ซึ่ง อาจเป็น False negative  ตัวอย่างที่พบผล NSP- จำนวน 239 ตัวอย่าง คิดเป็น 71.13% ซึ่งแสดงถึงสัตว์ยังไม่เคยได้รับเชื้อไวรัสโรค ปากและเท้าเปื่อยมาก่อน และเมื่อพิจารณาในส่วนของ ระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อย พบว่า titer Asia 1 มีค่าสูงสุด คิดเป็น 11.60% ส่วน titer A มีค่าต่ำสุด คิดเป็น 0.89% ตัวอย่างที่มีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ ทั้ง 3 ชนิด คือ A, O และ Asia1 มีค่าเพียง 3.27% และพบว่าตัวอย่างไม่มีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อชนิดใดเลย 45.83%

5  จากผลการตรวจพบว่าตัวอย่างที่ทำการสุ่มตรวจ ในทั้ง 9 จังหวัด มีรอ้ยละของสัตว์ที่มีระดับ ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อยทั้ง 3 ชนิดอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ซึ่งอาจเกิดจากปัจจัยหลาย ประการ เช่น การเก็บรักษาวัคซีน การกระจายวัคซีนต่อตัวสัตว์ สภาพกดภูมิคุ้มกันของสัตว์ สัตว์ไม่ได้รับวัคซีน ช่วงเวลาคุ้มโรคไม่เพียงพอ

6  เจ้าหน้าที่ควรเร่งดำเนินการฉีดวัคซีนเพื่อสร้าง ภูมิคุ้มกันฝูงโดยเร็วที่สุด และพิจารณาหา สาเหตุที่สัตว์มีระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสโรค ปากและเท้าเปื่อยต่ำในแต่ละจังหวัดและ ดำเนินการแก้ไข เพื่อเพิ่มระดับภูมิคุ้มกันให้ สามารถป้องกันการเกิดโรคปากและเท้าเปื่อยใน พื้นที่ต่อไป

7

8

9

10  ฟาร์มปลอดโรคบรูเซลโลสิส แพะ แกะ ระดับ B 16 ฟาร์ม  ฟาร์มปลอดโรคบรูเซลโลสิส แพะ แกะ ระดับ A 40 ฟาร์ม

11  ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกษตรกรบางส่วนยังไม่บันทึกประวัติสัตว์ใน ฟาร์มของตนเอง เบอร์หูที่ติดทำสัญลักษณ์หล่นหาย หรือ หมายเลขลางเลือน

12

13 จังหวัด หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ วันเริ่ม ป่วย จำนวนสัตว์ ในพื้นที่ เสี่ยง จำนวนสัตว์ ป่วย จำนวน สัตว์ตาย จำนวน สัตว์ป่วย คงเหลือ ปัจจัยที่อาจ ทำให้เกิด โรค อุตรดิต ถ์ ม.5 ม.6 ม.7 ต. น้ำไผ่ อ. น้ำ ปาด 25- ส. ค.- 57 กระบือ 522 ตัว โค 40 ตัว กระบือ 35 ตัว กระบือ 120 ตัว ไม่พบ สัตว์ป่วย ไม่ทราบ สาเหตุ ม.3 ต. ทุ่งยั้ง อ. ลับแล 28- ต. ค.- 57 กระบือ 22 ตัว กระบือ 6 ตัว กระบือ 3 ตัว ไม่พบ สัตว์ป่วย ไม่ทราบ สาเหตุ นครสวร รค์ ม.3 ต. เนิน กว้าว อ. โกรกพระ 31- ต. ค.- 57 กระบือ 255 ตัว กระบือ 28 ตัว กระบือ 6 ตัว ไม่พบ สัตว์ป่วย เลี้ยงในทุ่ง หญ้าร่วมกับ สัตว์ที่เคยเกิด โรค อุทัยธา นี ม.1 ม.9 ม.14 ต. ทัพทัน อ. ทัพทัน 28- ต. ค.- 57 กระบือ 160 ตัว โค 42 ตัว กระบือ 22 ตัว กระบือ 18 ตัว ไม่พบ สัตว์ป่วย การ เคลื่อนย้าย สัตว์ เข้า ออก พื้นที่ ม.2 ต. หมก แถว อ. หนองขาหย่าง 28- ต. ค.- 57 กระบือ 26 ตัวโค 20 ตัวโค 5 ตัว ไม่พบ สัตว์ป่วย ไม่ทราบ สาเหตุ ม.5 ต. เขา กวางทอง ม.8 ต. ทุ่งโพ อ. หนองฉาง 13 พ. ย - 57 กระบือ 22 ตัว กระบือ 2 ตัว ไม่พบ สัตว์ป่วย ไม่ทราบ สาเหตุ ม.8 ต. ประดู่ ยืน อ. ลานสัก 6 พ. ย.- 57 กระบือ 80 ตัว กระบือ 10 ตัว กระบือ 2 ตัว ไม่พบ สัตว์ป่วยไม่ทราบ สาเหตุ ม.6 ต. โนน เหล็ก อ. เมือง 16 พ. ย.- 57 กระบือ 41 ตัว กระบือ 1 ตัว ไม่พบ สัตว์ป่วยไม่ทราบ สาเหตุ


ดาวน์โหลด ppt  จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google