ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChiradet Lam ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ปีการผลิต 2557/58 โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 08/04/60 ประชุมชี้แจงมาตรการข้าว
2
ความเป็นมา อนุกรรมการพิจารณามาตรการผลิตและการตลาดข้าว เสนอ
9,13และ 16 มิถุนายน 2557 คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการสินค้าข้าว (นบข.) เห็นชอบ 1 กรกฎาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เห็นชอบ 2 กรกฎาคม 2557
3
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เห็นชอบตามข้อเสนอของ คณะกรรมการนโยบายและการบริหารจัดการสินค้าข้าว (นบข.) 1.มาตรการเร่งด่วน 1.1 มาตรการหลัก : ลดต้นทุนด้านปัจจัยการผลิตและบริการ จำนวน 5 รายการ 1.2 มาตรการสนับสนุน : การสนับสนุนแหล่งเงินทุน การส่งเสริมการตลาด การส่งเสริมการมีส่วนร่วม 2.มาตรการระยะยาว 2.1 มาตรการส่งเสริมปัจจัยการผลิต : การเพิ่มผลผลิตต่อไร่ การจัดตั้งธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว การกำหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) 2.2 มาตรการการส่งเสริมการมีส่วนร่วม : การจัดตั้งสถาบันพัฒนาศักยภาพการค้าข้าว
4
ลดต้นทุนด้านปัจจัยการผลิตและบริการ จำนวน 5 รายการ
1.1 มาตรการหลัก ลดต้นทุนด้านปัจจัยการผลิตและบริการ จำนวน 5 รายการ รายการ ลดลงต่อไร่ (บาท) 1. ปุ๋ยเคมี 40 2. สารเคมี 20 3. เมล็ดพันธุ์ 122 4. รถเก็บเกี่ยว 50 5. ค่าเช่านา 200 รวม 432
5
1.2 มาตรการสนับสนุน 1. การสนับสนุนแหล่งเงินทุน
1.1 โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อการผลิตแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2557/58 1.2 โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร 2. การส่งเสริมการตลาด 2.1 มาตรการผลักดันการส่งออกข้าว 2.2 โครงการเชื่อมเครือข่ายตลาดข้าวสารของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้งในและ ต่างประเทศ 2.3 โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก 2.4 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2557/58 3. การส่งเสริมการมีส่วนร่วม 3.1 โครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2557
6
การดำเนินงานตามโครงการในส่วนของสถาบันเกษตรกร
1. กรมส่งเสริมการเกษตร การขึ้นทะเบียนเกษตรกร การลดดอกเบี้ยเงินกู้ การรวบรวมข้าวเปลือก การแปรรูปข้าวสาร 2. กรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. ธ.ก.ส. ให้บริการสินเชื่อ 4. กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ให้คำแนะนำด้านบัญชี
7
มาตรการสนับสนุนที่สถาบันเกษตรกรร่วมมาตรการ
1. โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อการผลิตแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2557/58 วงเงินกู้ 50,000 บาท/ราย ลดดอกเบี้ย ร้อยละ 3 ต่อปี ระยะเวลา 6 เดือน 2. โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร วงเงินกู้ 20,000 ล้านบาท (18,000 ลบ.เพื่อรวบรวม และ 2,000 ลบ. เพื่อแปรรูป) อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 1 ต่อปี ระยะเวลากู้ 1 ปี 3. โครงการเชื่อมโยงเครือข่ายตลาดข้าวสารของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้งในและ ต่างประเทศ
8
การดำเนินงานในส่วนของจังหวัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แต่งตั้ง “คณะอนุกรรมการบริหารโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกรระดับจังหวัด” (ที่ 749/2557) ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัด เป็นรองประธาน ผอจ. / หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชี /เกษตรจังหวัด เป็นอนุกรรมการ สหกรณ์จังหวัด เป็นเลขานุการ เจ้าหน้าที่ กสส. / ธ.ก.ส. เป็นผู้ช่วยเลขานุการ อำนาจหน้าที่ อำนวยการ กำกับ แนะนำ โครงการสินเชื่อ, โครงการลดดอกเบี้ย และโครงการเชื่อมโยงการตลาด พิจารณาเสนอความเห็น กรณีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขอกู้เงินจาก ธ.ก.ส. ประสานงาน ติดตามผลการดำเนินงาน แต่งตั้งคณะทำงาน
9
สหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกร สรุปแนวทางช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี
ปีการผลิต 2557/58 ขึ้นทะเบียน ซื้อปัจจัยการผลิตราคาควบคุม เกษตรกรชาวนา / สมาชิก (3.57 ล้านคน) รับสิทธิลดดอกเบี้ยเงินกู้ 3 % ต่อปี เดือน (50,000 บาท) ข้าวเปลือก 28.58 ล้านตัน รวบรวมข้าวเปลือก 3-4 ล้านตัน ธ.ก.ส. 20,000 ล้านบาท สหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกร รวบรวมข้าวเปลือก ซื้อมา – ขายไป 3 – 4 ล้านตัน พ่อค้า โรงสี รวบรวมข้าวเปลือกเพื่อแปรรูป 400,000 ตันข้าวเปลือก จำหน่าย ตลาดภายในและต่างประเทศ 180,000 ตันข้าวสาร
10
มีสหกรณ์ที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
ภาพรวมการผลิตและการตลาดข้าวในระบบสหกรณ์ ผลลัพธ์ : เพิ่มผลผลิต,ลดต้นทุน,พัฒนาคุณภาพข้าว เพิ่มประสิทธิภาพการรวบรวมผลผลิต/แปรรูป สร้างเครือข่ายขยายตลาด ศูนย์กระจายสินค้าสหกรณ์ทุกจังหวัด ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีสมาชิกที่ปลูกข้าว (3,000 กว่าแห่ง) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่รวบรวมข้าวเปลือก (464 แห่ง) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่รวบรวมข้าวปึ-ลือกและแปรรูป ( มีโรงสี 168 แห่ง) ตลาดข้าวสาร เครือข่ายสหกรณ์ สมาชิก,กลุ่ม มีสมาชิกผู้ปลูกข้าว ล้านครัวเรือน (คิดเป็น 52% ของเกษตรกรทำนา ที่ขึ้นทะเบียน 3.57 ล้านคน) ผลผลิตข้าวปีละ ล้านตันข้าวเปลือก (39.77% ของข้าวเปลือกทั้งประเทศ นาปี ล้านต้น) สหกรณ์มีการจำหน่ายวัสดุการเกษตร ให้สินเชื่อเพื่อการผลิต/ประกอบอาชีพ อุปโภคบริโภค สมาชิกได้รับความเป็นธรรม ด้านราคา การตรวจสอบคุณภาพข้าว การชั่ง เงินปันผล/เงินเฉลี่ยคืน มีโรงสีข้าว 168 แห่ง ใช้งานได้ 133 แห่ง โรงสีได้รับรองระบบมาตรฐาน GMP 35 แห่ง ปี 2553 แปรรูปข้าวเปลือก 119,000 ตัน มูลค่า 1,436 ล้านบาท สหกรณ์ที่แปรรูป 129 แห่ง ปี 2554 แปรรูป 119,136 ตัน มูลค่า 1,443 ล้านบาท สหกรณ์ที่แปรรูป 148 แห่ง กสส. สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน ดบ. ต่ำ ให้สหกรณ์รวบรวมข้าวเปลือก ปีละ 350 ล้านบาท สหกรณ์ที่มีตลาดกลาง ฉาง โซโล ความจุรวม 671,000 ตัน มีตลาดกลางข้าวเปลือก 464 แห่ง ปริมาณข้าวเปลือกที่รวบรวม ในภาวะปกติ สูงสุด (ปี 2553) 1.851 ล้านตัน มูลค่า 18,626 ล้านบาท ปี 2554 รวบรวม ล้านตัน มูลค่า 12,416 ล้านบาท จำนวนสหกรณ์ที่รวบรวม 424 แห่ง สหกรณ์ใช้ทุนของตนเอง เงินกู้ กสส. สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน บางส่วน สหกรณ์ขายข้าวสาร ปี 2553 จำนวน 614 แห่ง 57,432 ตัน มูลค่า 1,330 ล้านบาท ปี 2554 จำนวน 645 แห่ง 43,541 ตัน มูลค่า 1,227 ล้านบาท ผู้บริโภคทั่วไป ร้านค้าปลีก แม็กโคร LOTUS BIG C โรงแรม ตลาดข้าวเปลือก ผู้ส่งออก มีสหกรณ์ที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว (74 แห่ง) สหกรณ์รวบรวมเมล็ดพันธุ์ข้าวจากสมาชิก 35,737 ตัน มูลค่า 524 ล้านบาท ตรวจสอบแล้วผ่านมาตรฐานรับซื้อคืน 33,275 ตัน ปี 2557 สมาชิกผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 6,494 ราย มีโรงงานปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ 64 โรง มีห้อง LAB 19 แห่ง ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวได้ 30,000 ตัน กรมฯ สนับสนุนเงินกู้ทุนหมุน ดบ. 1% 125 ล้านบาท เกษตรกรมีเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพใช้ เพาะปลูกปีละ 2 ล้านไร่ สหกรณ์อื่น ตลาดกลาง จำหน่ายแล้ว 12,807 ตัน มูลค่า 267 ล้านบาท ณ พค. 57 มีเมล็ดพันธุ์ข้าวคงเหลือ 9,703 ตัน และระหว่างปรับปรุงสภาพคาดว่าได้คุณภาพ 6,105 ตัน รวมเมล็ดพันธุ์ข้าว 15,808 ตัน โรงสี พ่อค้าเอกชน * สหกรณ์เป็นกลไกส่วนหนึ่งในตลาดเพื่อไม่ให้พ่อค้ากดราคาผลผลิตในพื้นที่ เพิ่มข้อมูล 2 กรกฎาคม 2557 เสริมสร้างเครือข่ายการผลิตการตลาดข้าวแบบครบจงจรในทุกจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกข้าวและการบริหารจัดการสินค้าข้าวในระบบสหกรณ์ 08/04/60 ประชุมชี้แจงมาตรการข้าว 10
11
จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ... สวัสดี 08/04/60 11
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.