ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPrapaan Singharattanapan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
การวิจัยของชาติ (พ.ศ ) และนโยบายการวิจัยของชาติในระยะยาว ความร่วมมือระหว่าง วช./ สวทน./ สกว./ สวทช./ สวรส./ สวก. สภาพัฒน์/ สภาวิจัย/ สภาการศึกษา
2
การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของระบบวิจัย
การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของระบบวิจัย....เพื่อ Design “ระบบวิจัยแห่งชาติ” 5 ระบบบุคลากร (นักวิจัย, ผู้ช่วย ) ความต้องการปริมาณ / สาขา สมรรถนะ ค่าตอบแทน 6 ระบบโครงสร้างพื้นฐาน และระบบแรงจูงใจ โครงสร้างพื้นฐาน S & T , IT 7 ระบบมาตรฐานการวิจัย มาตรฐานสัตว์ทดลอง / การวิจัยในคน มาตรฐานห้องปฏิบัติการ / Biosafety 8 ระบบการประเมิน Demand Vs. Supply 9 ระบบจัดการผลผลิต สู่การใช้ประโยชน์ ผู้รับบริการภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ/ภาคอุตสาหกรรม ทรัพย์สินทางปัญญา ภาควิชาการ 1 ระบบนโยบาย (ภาพรวม/ ราย Sector) สภาวิจัยแห่งชาติ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สภาการศึกษา สวทน. /สภาอุตสาหกรรม/ สถาบันอาหาร/สถาบัน... 2 ระบบองค์กรสนับสนุนทุนวิจัย : วช. สกว. สวรส. สวทช. สวก. และ สกอ. 3 ระบบเงินทุนสนับสนุนการวิจัย : งบประมาณภาครัฐ, ทุนวิจัยต่างประเทศ, งบวิจัยและพัฒนาจากภาคเอกชน, เงินทุนจากภาคส่วนราย sector เช่น กทช. สสส. กพ. เป็นต้น 4 ระบบหน่วยวิจัย มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา กระทรวง/กรม ภาคเอกชน 6 PDCA บูรณาการระบบย่อย
3
การพัฒนาระบบวิจัยโดยการทำงานในรูปแบบของ Commission ในการทำงานในแต่ละระบบวิจัย...โดยเชื่อมโยงบูรณาการเป็นระยะๆ จนสมบูรณ์ STUART คณะทำงานบูรณาการ Commission ทางด้านระบบนโยบาย Commission ทางด้านระบบองค์กรสนับสนุนทุนวิจัย Commission ทางด้านระบบเงินทุนสนับสนุนการวิจัย Commission ทางด้านระบบหน่วยวิจัย Commission ทางด้านระบบบุคลากร นักวิจัย ผู้ช่วยวิจัย Commission ทางด้านระบบโครงสร้างพื้นฐาน Commission ทางด้านระบบมาตรฐานการวิจัย Commission ทางด้านการประเมิน Demand Vs. Supply Commission ทางด้านระบบจัดการผลผลิต วช. สวทน. FACILITATE
4
1 2 3 4 เป้าหมายที่พึงประสงค์ของการพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ...คือ
ได้ระบบวิจัยที่รู้บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของระบบย่อย....และมีกลไกการขับเคลื่อนที่สามารถประสานทุกภาคส่วนของระบบ ให้มาทำงานสอดคล้องสัมพันธ์กันได้อย่างแท้จริง และมีวิวัฒนาการพัฒนาตนเองได้ดี ....ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ เป็นระบบวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งที่ฝังตัว (embedded) อย่างแนบแน่นอยู่ในองค์กร และสามารถ ทำหน้าที่ขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาอย่างมั่นคงให้กับประเทศ...โดยอาศัยฐานความรู้ มีการสื่อสาร และปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ของระบบ ในลักษณะ Real Time และเป็นการประสานงานกันอย่างแนบแน่น สามารถเชื่อมโยงเป็นระบบเครือข่ายที่มีเอกภาพและศักยภาพเพื่อนำไปสู่การมีระบบการวิจัยของประเทศที่เป็นเอกภาพ และมีประสิทธิภาพ เป็นระบบที่ Evolving ได้ตลอดเวลา พัฒนาตนเองได้ดี นำไปสู่การกำหนดนโยบาย เป้าหมาย และยุทธศาสตร์การวิจัย ทั้งระยะสั้น ระยะยาว โดยมีการประเมินเพื่อนำผลมาใช้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1 2 3 4
5
การพัฒนาระบบทุนวิจัยของประเทศ
ทุนมนุษย์ ความสามารถของคน ความเป็นสุขของครอบครัว ความสมัครสมานของชุมชน พึ่งพาตนเอง และสนับสนุนผู้อื่น สอดคล้องความต้องการ การมีส่วนร่วม ทุนทางกายภาพ ด้านสังคม ทุนทางสังคม สร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขัน สร้างรายได้ ลดรายจ่ายสินค้าและบริการใหม่ สร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิต Branding เทคโนโลยีของตนเอง การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ดูแลสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ ใช้และทดแทนทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม การพัฒนาอย่างยั่งยืน ของประเทศ ด้านนิเวศ การจัดการความรู้ เชื่อมโยงกับภูมิภาคและโลก ด้านเศรษฐกิจ ทุนทรัพย์สิน ทุนทรัพยากร ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
6
จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.