ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สินค้าคงเหลือ
2
สินค้าคงเหลือ (Inventory)
สินค้าคงเหลือ หมายถึง สินทรัพย์ซึ่งกิจการมีไว้เพื่อขายตาม ลักษณะการประกอบธุรกิจ โดยปกติ หรือ อยู่ในระหว่าง กระบวนการผลิตเพื่อให้เป็นสินค้าสำเร็จรูปเพื่อขาย หรือ มีไว้เพื่อใช้ ในการผลิต หรือให้บริการ สินค้าคงเหลือ จึงประกอบด้วย สินค้าที่ซื้อและถือไว้เพื่อขาย สินค้าสำเร็จรูป งานระหว่างทำ รวมทั้งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ต้นทุนงานให้บริการ ซึ่งประกอบด้วยค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวกับบุคลากร ที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้บริการ รวมทั้งบุคลากรที่ควบคุมและดูแล และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ
3
กิจการสามารถควบคุมสินค้าคงเหลือ
โดยใช้ระบบบัญชีต่าง ๆ กัน เช่น ระบบสินค้าแบบสิ้นงวด (Periodic System) ระบบสินค้าแบบต่อเนื่อง (Perpetual System) ระบบผสมทั้งสองวิธี (Combination of Periodic and Perpetual System) ระบบราคารวม (Aggregative Method) เช่น วิธีกำไรเบื้องต้น (Gross Profit Method) และวิธีราคาขายปลีก (Retail Inventory Method)
4
การวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือ
1. การวัดมูลค่าตามราคาจำหน่าย 2. การวัดมูลค่าตามราคาจัดหา
5
มาตรฐานการบัญชี นโยบายการบัญชีการตีราคาสินค้าคงเหลือ ใช้คำนวณราคาทุน
ราคาตามบัญชีของสินค้าคงเหลือแยกตามเหมาะสมของกิจการ และราคาตามบัญชีรวม ราคาตามบัญชีของสินค้าคงเหลือ แสดงในมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ มูลค่าสินค้าที่ปรับเพิ่มขึ้นจากราคาที่เคยลดลง เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ที่ทำให้ราคาสินค้ากลับเพิ่มขึ้น ราคาตามบัญชีของสินค้าคงเหลือ ที่ใช้เป็นหลักประกันหนี้สิน
6
การตีราคาสินค้าคงเหลือ
ราคาทุน หรือ มูลค่าสุทธิที่ คาดว่าจะได้รับ วิธีเจาะจง FIFO LIFO วิธีถัวเฉลี่ย (WA) เคลื่อนที่ (MA) วิธีต้นทุนมาตรฐาน
7
วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ สินค้าคงเหลือ
เพื่อตรวจสอบว่ามีสินค้าคงเหลืออยู่จริง และมีสภาพพร้อมที่จะขายได้ เพื่อตรวจสอบเกี่ยวกับเงื่อนไขต่าง ๆ เช่น การประกันภัย เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ในการบันทึกบัญชี เพื่อประเมินผลการควบคุมภายในที่เกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ เพื่อตรวจสอบจำนวนสินค้าคงเหลือมีปริมาณเหมาะสมเพียงใด
8
การตรวจสอบสินค้าคงเหลือ
วิธีการตรวจสอบ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ การกระทบยอดรายละเอียดสินค้าคงเหลือกับ G/L ความถูกต้อง ประเมินการวางแผนตรวจนับสินค้าคงเหลือ ความมีอยู่จริง ความครบถ้วน สิทธิและภาระผูกพัน การตีราคา การสังเกตการณ์การตรวจนับสินค้าคงเหลือ การสอบทานการตัดยอดรับ-จ่ายสินค้า ณ วันตรวจนับ การตรวจสอบมูลค่าของสินค้าคงเหลือ การตีราคา การวิเคราะห์เปรียบเทียบ ความครบถ้วน การตีราคา การเปิดเผยและการแสดงรายการ (นำสินค้าไปค้ำประกันหรือไม่) การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล
9
การตรวจสอบสินค้าคงเหลือ
ตรวจดูสภาพและคุณภาพสินค้า สอบถามผู้บริหารเรื่องสินค้าล้าสมัย ตรวจสอบสินค้าระหว่างทาง ตรวจสอบสินค้าส่งไปฝากขายและคงเหลืออยู่ ณ วันสิ้นปี ตรวจสอบสินค้ารับฝากขายคงเหลือ ณ วันสิ้นปี ตรวจสอบสินค้าที่ฝากเก็บไว้ในคลังสินค้าของผู้อื่น ตรวจสอบหลักเกณฑ์และวิธีการตีราคาสินค้า ตรวจตัดยอดซื้อ ยอดขาย ตรวจสอบต้นทุนสินค้าที่ขาย
10
การตรวจสอบสินค้าคงเหลือ
ตรวจสอบสินค้าที่ใช้เป็นหลักประกันหนี้สิน และข้อมูลผูกพันการซื้อการขายล่วงหน้า สอบถามผู้บริหารเกี่ยวกับสินค้าที่นำไปจำนำหรือค้ำประกันเงินกู้ยืม ตรวจสอบการประกันภัยและเก็บรักษาสินค้า ขอใบรับรองสินค้าคงเหลือ (ขอหนังสือรับรองจากลูกค้า) สอบสวนสินค้าคงเหลือต้นปีที่รับงานตรวจสอบปีแรก
11
ตัวอย่างใบตรวจนับสินค้าคงเหลือ
ใบตรวจนับที่………………. ชื่อบริษัท………………………………………… สถานที่ ……………………………………………………… ปีบัญชี……………… วันที่ตรวจนับ………………… รายการที่ ชื่อ/รหัสสินค้า ปริมาณ หมายเหตุ ตามบัญชี ที่ตรวจนับ ผลต่าง เจ้าหน้าที่ คลังสินค้า ผู้ตรวจนับ ผู้สอบบัญชี
12
ตัวอย่างรูปแบบของกระดาษทำการสินค้าคงเหลือ
ชื่อ วันที่ จัดทำโดย สอบทานโดย บริษัท……………………………….. กระดาษทำการสินค้าคงเหลือ ณ วันที่……..เดือน……………พ.ศ….. รายการ ยอดคงเหลือ ตามบัญชี ณ …… รายการปรับปรุงระหว่างปี….. หลังปรับปรุง เดบิต เครดิต วัตถุดิบ (เลขที่บัญชี…) สินค้าระหว่างผลิต (เลขที่บัญชี…) แรงงานทางตรง (เลขที่บัญชี…) โสหุ้ยและอุปกรณ์การผลิต (เลขที่บัญชี…) สินค้าสำเร็จรูป (เลขที่บัญชี…) วัสดุสิ้นเปลือง รวม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.