งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การดำเนินงานโครงการควบคุมป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีน โดย นางสิตา สุขเจริญ นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

2 วัตถุประสงค์ สร้างเสริมศักยภาพภาคีเครือข่ายและสนับสนุนมาตรการ
เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ สู่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างทั่วถึง และต่อเนื่อง เพื่อขจัดปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนให้หมดไป เพื่อรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเรื่องไอโอดีนมีผลต่อการพัฒนาการสมวัย และ สติปัญญา รวมทั้งการใช้เกลือและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน

3 1. ครัวเรือนที่มีการใช้เกลือเสริมไอโอดีน
เป้าหมาย 1. ครัวเรือนที่มีการใช้เกลือเสริมไอโอดีน (ไอโอดีนไม่น้อยกว่า 30 ppm) ร้อยละ 90 2. ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ น้อยกว่า 150 g/L ร้อยละ 50 3. ขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านทุกแห่งสู่การเป็นไอโอดีน

4 บทบาทศูนย์ฯ 1. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานฯ กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ - วันไอโอดีนแห่งชาติ - ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ 3. สร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย - สนับสนุนให้เกิดชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนตามเกณฑ์ - สนับสนุนมาตรการในการควบคุม และป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน โดย - ประชาชนทุกเพศทุกวัยใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ - หญิงตั้งครรภ์ทุกราย ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน วันละ 1 เม็ด ตลอดการตั้งครรภ์และขณะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน

5 บทบาทศูนย์ฯ (ต่อ) 4.นิเทศติดตาม สนับสนุน

6 แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด
1.มาตรการเกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า . ควบคุม กำกับ และปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องเกลือบริโภค . ควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน . ส่งเสริมให้มีการขายเกลือเสริมไอโอดีนและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน

7 แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด
2. การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ . การรณรงค์ในวันไอโอดีนแห่งชาติ/เทศกาลสำคัญ ของจังหวัด . ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อมวลชน วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว อสม.

8 แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด
3. บริหารจัดการและสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย . ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อุสาหกรรมจังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด ประชาสัมพันธ์จังหวัด ฯลฯ . ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาผู้ประกอบการเกลือและผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน . ผลักดันให้อปท. มีนโยบายและมาตรการการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน โดยกองทุนสุขภาพตำบล . ขับเคลื่อนให้เกิดชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนตามเกณฑ์

9 แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด
4. มาตรการเสริม . การเสริมไอโอดีนในน้ำดื่ม( 2 หยดต่อน้ำ 10 ลิตร ) . ยาเม็ดเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน ทุคน (ในสถานบริการของรัฐ)

10 แนวทางการการดำเนินงานระดับจังหวัด
5. การเฝ้าระวังและติดตาม . ตรวจไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ . ตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้ในครัวเรือน จุดผลิต ร้านค้า ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน โดยชุด I-kit . ติดตาม ประเมินผล

11 สวัสดี

12


ดาวน์โหลด ppt นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google