ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา
2
ผล PMTCT รายงานจากห้องคลอด 2553 2554 1. หญิงคลอดทั้งหมด 8,141 5,822
2. ร้อยละการตรวจ HIV (8,138) 99.96% 100% 3. ร้อยละ HIV บวก (43) 0.5% (37) 0.6% 4. ร้อยละได้รับยา
3
ผลป้องกันการแพร่เชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก
หญิงคลอด 2553 2554 1. หญิงคลอดที่ติดเชื้อเอชไอวี 43 37 2. เด็กเกิดจากแม่ติดเชื้อ 2.1 ได้รับยาต้านไวรัส 35 3. การจ่ายนมผสมก่อนออก รพ. 3.1 จำนวนทารกได้รับนมผสม(คน) 3.2 จำนวนนมผสมที่ได้รับ(ก.ก.) 40 141 117
4
การติดตามสุขภาพเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อเอช ไอ วี
ผลการดำเนินงาน การติดตามสุขภาพเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อเอช ไอ วี รายการ 2553 2554 หน่วย เด็กเกิดจากแม่ติดเชื้ออายุ 18 – 24 เดือน 37 21 ราย ได้รับการตรวจหาเชื้อเอช ไอ วี 34 (91.89%) 18 (85.7%) ไม่ได้รับการตรวจหาเชื้อเอช ไอ วี ผลเลือด เป็นบวก 3 (8.82%) 1 (5.56%)
5
ข้อมูลหญิงหลังคลอดที่ติดเชื้อHIV/ตั้งครรภ์ซ้ำ
หญิงคลอด 2553 2554 หญิงคลอดที่ติดเชื้อเอชไอวี 1.1 ครรภ์แรก HIV+ 1.2 ครรภ์ที่ 2 HIV+ 1.3 ครรภ์ที่ 3-ขี้นไป HIV+ 1.4 ครรภ์แรก HIV- แต่ครรภ์ที่ 2 หรือ 3 HIV+ 23 5 1 12 22 4 2 11 2. สาเหตุการตั้งครรภ์ 2.1 มีสามีใหม่ 2.2 สามีคนเดิม 2.2.1 ต้องการมีบุตร 2.2.2 คุมกำเนิดผิดพลาด 3. ไม่ทราบข้อมูล 15 3 8 7
6
ข้อมูลการให้บริการฝากครรภ์เป็นคู่
รายการ 2553 2554 จำนวนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 2,658 2,234 2. จำนวนคู่ที่ทำ Couple Csg 2.1 จำนวนตรวจหาเชื้อ 2.2 ผลเลือดต่าง(คู่) 1,357 1,194 4 1,038 985 6
7
ปัญหา/อุปสรรค 1.ข้อมูลจาก PHIM ยังใช้ในการติดตามเด็กและดึงจากNAP PROGRAM ไม่ได้ ทำให้ต้องทำรายงานหลายครั้ง 2.นโยบายของกรมอนามัยในปี เปลี่ยนแนวทางการให้ยาลดการแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก ชี้แจงให้ระดับจังหวัด และระดับจังหวัดไปขยายผลต่อสู่ผู้ปฏิบัติในหน่วยบริการ ซึ่งใช้เวทีการติดตามงาน ขาดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปฏิบัติงานในระดับจังหวัดและระดับเขต 3.การเปลี่ยนผู้ปฏิบัติงาน ทำให้ต้องมีการชี้แจงและทำความเข้าใจระบบบริการใหม่ การติดตามงานด้วยระบบรายงานทำให้ไม่ทันเวลา
8
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.