งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี 10 ธันวาคม 2552

2 วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักของประเทศ ในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี

3 พันธกิจ พัฒนา ผลักดันและสนับสนุน ให้เกิดนโยบายและกฎหมายที่จำเป็น
ผลิต พัฒนาองค์ความรู้และ นวตกรรม ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็ง

4 โครงสร้างการบริหารของกรมอนามัย
กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักที่ปรึกษา กลุ่มภารกิจพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี กลุ่มภารกิจ บริหารกลยุทธ์ กลุ่มภารกิจ อำนวยการ กองทันตสาธารณสุข กองโภชนาการ กองอนามัยการเจริญพันธุ์ กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กองสุขาภิบาลชุมชนและ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กองสุขาภิบาลอาหารและน้ำ สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย สำนักงานเลขานุการกรม กองคลัง กองการเจ้าหน้าที่ กองแผนงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร อัตรากำลัง ,738 คน ข้าราชการ ,176 คน ลูกจ้างประจำ 1,454 คน พนักงานราชการ คน

5 โครงสร้างการบริหารของศูนย์อนามัยที่ 7
ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 7 ฝ่ายอำนวยการ กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มงานอนามัยแม่และด็ก งานทันตสาธารณสุข กลุ่มงานอนามัยวัยเรียนและวัยรุ่น กลุ่มงานเวชศาสตร์ชุมชน กลุ่มงานอนามัยวัยทำงานและวัยทอง กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อม กลุ่มงานอนามัยวัยผู้สูงอายุ กลุ่มยุทธศาสตร์และเทคโนโลยี

6 โครงการสำคัญในปีงบประมาณ 2553

7 โครงการพระราชดำริ สายใยรักแห่งครอบครัว
ส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยแม่และเด็กในถิ่นทุรกันดาร ในความรับผืดชอบของ รร.ตชด. สุขอนามัยชาวเขา ให้บริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในกลุ่มประชาชนชาวไทยภูเขา ศูนย์ 3 วัย พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนทุกช่วงวัย คือ วัยเด็ก, วัยพ่อแม่, วัยผู้สูงอายุ ควบคุมป้องกันการขาดสารไอโอดีน โดยร้อยละ 90 ของครัวเรือนมีการใช้เกลือเสริมไอโอดีน และ แก้ปัญหาทุพโภชนาการในถิ่นทุรกันดาร สำหรับเด็กอยู่ในครรภ์-3 ปี ฟันเทียมพระราชทาน เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 30,000 คนได้รับบริการ

8 การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัย แม่และเด็กในถิ่นทุรกันดาร ศูนย์ 3 วัย โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ ระดับทอง แห่ง อัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูกไม่เกิน ร้อยละ 3.7

9 พัฒนาการของเด็กปฐมวัยแรกเกิด – 5 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550
ปัญหาและความท้าทาย พัฒนาการของเด็กปฐมวัยแรกเกิด – 5 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550 ร้อยละ อัตราการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ระหว่างประเทศ

10 ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ในเด็กวัยเรียน และวัยรุ่น โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 30 แห่ง หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนการจัดบริการ ที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น 10 แห่ง

11 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
พฤติกรรมเสี่ยง สุรา บุหรี่ สื่อ / หนังสือ การพนัน สถานเริงรมย์ ยาเสพติด การปรึกษา/ความรู้ ปรึกษา - เพื่อน % - พ่อแม่ % ความรู้ - โรงเรียน % - สื่อ % - เพื่อน % เพศสัมพันธ์ ครั้งแรก – 19 ปี มีเพศสัมพันธ์ – 42 % ไม่ป้องกัน – 70 % ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ทำแท้ง % ทำแท้งนอก รพ. 40 % ตั้งครรภ์วัยรุ่น – 15 %

12 แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย
สร้างพฤติกรรมการกิน ลด หวาน มัน เค็ม เน้นให้กินปลา ผัก และผลไม้ ส่งเสริมให้ประชาชนบริโภคเมนู ชูสุขภาพ ส่งเสริมการออกกำลังกายที่ เหมาะสม สสจ. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน เป็นองค์กรไร้พุง ชาย อายุ 15 ปี ขึ้นไป รอบเอว ไม่เกิน 90 ซม. เป้าหมาย ร้อยละ 79 หญิง อายุ 15 ปี ขึ้นไป รอบเอว ไม่เกิน 80 ซม. เป้าหมาย ร้อยละ 42.5

13 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

14 ก้าว...สู่สังคมผู้สูงวัย
ปี 2548 ปี 2568 เกิดปีละ 8 แสน จำนวนร้อยละ 23.0 อัตราพึ่งพาร้อยละ 34.4 ภาวะการเจริญพันธุ์ = 1.7 อายุขัยเฉลี่ยแรกเกิด ช ปี / ญ. 75 ปี เกิดปีละ 6 แสน ลดลงเป็นร้อยละ 18.0 อัตราพึ่งพาร้อยละ 28.9 เพิ่มขึ้นปีละ 4 แสน จำนวนร้อยละ 10.3 อัตราพึ่งพาร้อยละ 15.5 อายุขัยเฉลี่ยที่ 60 ปี ช. 79 ปี / ญ ปี เพิ่มขึ้นปีละ 6 แสน เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 20.0 อัตราพึ่งพาร้อยละ 32.2 “ประชากรไทยคงที่ ที่ 65ล้านคน” 14

15 ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
โครงการฟันเทียมพระราชทาน ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และ เฝ้าระวังโรคกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลเพื่อแก้ไข ปัญหาสูญเสียฟัน 30,000 คน จำนวนตำบลต้นแบบที่ผ่านเกณฑ์ การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุระยะยาว 10 ตำบล ชมรมผู้สูงอายุ มีกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพช่องปาก 75 ชมรม

16 การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาเมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ เทศบาล / อบต. ผ่านเกณฑ์ด้านกระบวนการเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ ร้อยละ 78 / 10 เทศบาล /อบต ที่มีสัมฤทธิผลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 40 /5

17 ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ สถานที่จำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน “Clean Food Good Taste” 80 % ตลาดสดได้มาตรฐาน “ตลาดสดน่าซื้อ” 80 %

18 การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ สร้างความรู้กับประชาชนในพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ ให้ได้ตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพ รวมถึงการดูแลสุขภาพ บุคลากรและประชาชน มีความรู้ด้านการเฝ้าระวังสุขภาพจากมลพิษ ร้อยละ 65

19 สวัสดี 19


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google