ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAawut Dahkling ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โอกาสและความท้าทายของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมยานยนต์ : เมื่อไร้กำแพงภาษี
0% สภาอุตสาหกรรม คุณเพียงใจ แก้วสุวรรณ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ส.อ.ท. วันจันทร์ที่ 29 กันยายน 2551 ณ โรงแรมสยามซิตี้
2
หัวข้อการนำเสนอ ทิศทางโลกาภิวัฒน์ ภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทย
ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย โอกาสและความท้าทาย.... เมื่อไร้กำแพงภาษี บทสรุป
3
ทิศทางโลกาภิวัฒน์ Economic Scenario
4
The Geopolitics of 2026 By 2026 , China’s economy will be bigger than the US India’s will be much larger than that of any individual European country The press will be full of articles about “Asian Value’ and the “Beijing Consensus” There will be a fierce global scramble for oil, water and skilled labor As economic might shifts from the north and west to the south and east, so will the cultural power Ancient civilizations like China and India will become more self-confident and will project their own ideas on to concept such as democracy, freedom and the rule of law Source: The Geopolitics of 2026, The Economist 2006
5
Desired Wealth of the Nation
Nation-State Nation’s Competitiveness Company Competitive Advantage ความมั่งคั่ง และการเจริญเติบโตของแต่ละประเทศจะได้มาอย่างไร ? People Competencies
6
From Now On Nation 1 Nation 2 Nation 3 Issues Unilateral Bilateral
Multilateral Nation-State Local Regional Global Company Privatize Commonize Socialize People
7
Asia Expected to Be a Bigger Part of World By 2015
Forecasted Share of World GDP 2015 100 80 Asia 60 Total = 45% 40 Non-Asia 20 China India USA Rest of the world Other Asia Japan Western EU Total Source: The Economist December 2th, 2005, investaustralia.com
8
AEC : ก้าวต่อไปของ ASEAN
ASEAN Economic Community เพื่อสร้าง ASEAN ให้เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (Single Market and Production Base) โดยมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือและเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น วัตถุประสงค์ แนวทางดำเนินการ: Sector-Based Approach โดยเลือก 12 สาขา สำคัญ (priority sectors) เป็นสาขานำร่อง คือ เกษตร ประมงผลิตภัณฑ์ไม้ ผลิตภัณฑ์ยาง สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ยานยนต์ อิเล็คทรอนิคส์ สุขภาพ IT ท่องเที่ยว การบิน และโลจิสติกส์ เป้าหมาย 2020 (2015)
9
ภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทย
10
Automotive Industry Policy : Target
Automotive Production Base in Asia International Car Policy Production Base in Global Niche Products (1 Ton PU, Eco-Car, High Quality Motorcycle) Competitive Auto-Parts 2nd Strategy Standardization and Research & Development 1st Strategy Clear Direction and Creating Opportunity 3rd Strategy Human Resource Development 10
11
1st Strategy “ Clear Direction and Creating Opportunity”
The strategy aims to take the distinctive direction for the industry. ECO Car Project Free Trade Agreement , Economic Corporation promote the use of energy saving vehicles, like hybrid, electric and fuel cell promote the use of alternative energy vehicles, such as Bio-fuel, Gasohol , NGV Infrastructure 11
12
Thailand Automotive Performance
Top 10 production of the world Source: Thailand Automotive Institute
13
Statistic Data : Automobile
+10.85% (07-08) +8.36% (06-07) Result 2007 Production 1,287,346 Sales: ,251 Export: ,100 Plan 2008 Production ,427,054 Sales: ,000 Export: ,000 1,427 +7.72% (07-08) -7.46% (06-07) 770 ~680 This slide depicts the movement of // Production, Sales, and Exports for Thailand over past 12 years. 1997 and 1998 represented the period of our financial crisis //where we experienced a tremendous downturn in our industry // as well as most other businesses. However, //since 1999, we have enjoyed steady growth, // where today we will achieve all-time volume records for all 3 categories. +28.04% (06-07) +11.57% (07-08)
14
Domestic-Export Sales and Production as of August 2008
Source: Automotive Industry Club, FTI
15
Domestic Sales as of August 2008 (by Categories)
PPV 13,537 3.27% Passenger Car 157,371 38.07% Pick-up 1 ton 214,380 51.86% Other 28,088 6.80% Jan-Aug.’08 = 413,376 units Source: Automotive Industry Club, FTI
16
Export Sales as of August 2008 (by Categories)
PPV 17,162 3.27% Passenger Car 122,860 23.42% 1 Ton P/U 384,671 73.31% Jan-Aug.’08 = 524,693 units Source: Automotive Industry Club, FTI
17
CBU Export of P-Car (by regions)
P-car Export of August 08 = 14,128 units : 0.01% (Year: 0.06%) : 0 % (Year: 0.46%) : 0.03 % (Year: 2.80%) Oceania: % (Year: 39.69%) Asia: % (Year: 56%) Asia: % (Year: 56.99%) Source: Automotive Industry Club, FTI
18
CBU Export of 1 ton Pick Up (by regions)
1 ton P/U Export of August’08 = 51,896 units Other : 0% (Year: 0.99%) C & S America: 15.73% (Year: 13.72%) Africa: 6.88% (Year: 10.95%) Asia: 11.52% (Year: 9.89%) Europe: 18.93% (Year: 17.69%) Oceania: 23.10% (Year: 22.39%) Middle East: 23.84% (Year: 24.37%) Source: Automotive Industry Club, FTI
19
ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
20
ศักยภาพของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
ศูนย์รวมของผู้ผลิตรถยนต์ค่ายต่างๆทั่วโลก ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ และมีเครือข่ายที่มีศักยภาพ ฐานการประกอบรถยนต์ (Production Hub) ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เป็นศูนย์กลางการส่งออก ตลาดในประเทศ รวมทั้งตลาดในภูมิภาคมีขนาดใหญ่ คุณภาพของยานยนต์ไทย คุณภาพฝีมือแรงงาน อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยมีศักยภาพเพียงพอที่จะแข่งขันได้ในระดับภูมิภาคเนื่องจาก การเป็นศูนย์รวมของผู้ผลิตรถยนต์ค่ายต่าง ๆ ทั่วโลก ทั้งรถยนต์ค่ายญี่ปุ่น ยุโรป อเมริกา มีรถยนต์ประเภทต่างๆ ทั้งรถยนต์นั่ง รถปิคอัพ รถบรรทุก รถจักรยานยนต์ มีผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ และมีเครือข่ายที่มีศักยภาพ ปัจจุบันประเทศไทยเป็นฐานการผลิตรถปิคอัพ และรถจักรยานยนต์ที่สำคัญของโลก ประเทศไทยมีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เอื้ออำนวยต่อการติดต่อค้าขายไปยังทุกประเทศในภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศอาเซียน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รอบ ๆ ประเทศไทยติดกับ จีน พม่า ลาว เขมร เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ทำให้สร้างได้เปรียบในการขยายตลาด ตลาดในประเทศ และตลาดในภูมิภาคมีขนาดใหญ่พอที่จะรองรับกำลังการผลิตที่มีอยู่ในปัจจุบัน รถยนต์จากประเทศไทยมีคุณภาพสูงเนื่องจากมีประสบการณ์ที่สะสมเทคโนโลยีการผลิตขั้นพื้นฐานที่ดี สะสมมากว่า 40 ปี ทำให้ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและมีพัฒนาการของอุตสาหกรรมยานยนต์ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ประกอบกับความสามารถด้านทักษะของแรงงานไทยได้รับการยอมรับ
21
โอกาสและความท้าทาย.... เมื่อไร้กำแพงภาษี
22
โอกาส.... เมื่อไร้กำแพงภาษี
การเปิดเสรีการค้าของประเทศไทย WTO สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป 9 FTA ของไทย 17 ไอซ์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ลิกเตนสไตน์ 7 FTA ของอาเซียน สหภาพยุโรป จีน เกาหลีใต้ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น บาห์เรน อินเดีย BIMSTEC การเปิดเสรีการค้าทำให้สร้างโอกาสในการขยายตลาดของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ทั้งในตลาดเดิม และในตลาดใหม่ เช่น หาก EU ยอมลดภาษีสำหรับยานยนต์ไทยจากผลการเจรจา ASEAN-EU จะทำให้รถยนต์จากไทยที่ส่งไปขายในปัจจุบัน สามารถแข่งขันกับผู้ประกอบการจากประเทศอื่นได้ดีขึ้น หรือการเปิดตลาดใหม่ที่เดิมประเทศไทยอาจไม่มีการขายรถยนต์ไปหรือขายได้น้อย ก็จะสามารถเพิ่มตลาดได้จากเมื่อไร้กำแพงภาษี โดยเฉพาะรถปิคอัพและรถจักรยานยนต์ไทยที่มีคุณภาพสูง และราคาที่สามารถแข่งขันได้ในระดับคุณภาพเดียวกัน การลดภาษีเหลือ 0% น่าจะส่งเสริมการเพิ่มตลาดสำหรับปิคอัพจากประเทศไทย เปรู บังคลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย สหภาพพม่า เนปาล ภูฐาน และไทย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
23
FTA: เป้าหมายของประเทศไทย
EFTA PERU INDIA : TIFTA SOUTH KOREA AUSTRALIA : TAFTA NEW ZEALAND : TNZEPA JAPAN : JTEPA BIMSTEC BAHRAIN MEXICO USA CHILE ในนาม ประเทศไทย ในนาม ASEAN ASEAN-KOREA : AKFTA ASEAN-JAPAN: AJFTA ASEAN-AUSTRALIA & NEW ZEALAND: AANZFTA ASEAN-CHINA: ACFTA ASEAN-INDIA ASEAN-EU
24
ความท้าทาย.... เมื่อไร้กำแพงภาษี
รถยนต์นั่ง รถปิคอัพ รถยนต์นั่ง 1. ปัจจุบันเราเป็นฐานการผลิตและส่งออกรถยนต์นั่งระดับกลาง แต่เมื่อภาษีเหลือ 0% อาจจะไม่ใช้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตและส่งออกต่อไป โดยบริษัทแม่อาจย้ายฐานผลิตไปในประเทศอื่นที่เหมาะสมในเรื่องการขนส่ง หรือประเด็นอื่นๆ 2. แม้ว่ารถยนต์นั่งจะมีกำลังซื้อในประเทศที่มีมากที่สุดในภูมิภาคอาเซียน แต่เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศจีนหรือประเทศอินเดียนับว่าต่ำกว่ามาก จึงเป็นอุปสรรคต่อการขยายตัวสู่การเป็นฐานการผลิตรถยนต์นั่งในระดับโลก 3. อย่างไรก็ตาม รถยนต์จากประเทศจีนและอินเดียยังต้องใช้เวลาในการปรับปรุงคุณภาพ เนื่องจากความต้องการของตลาดในประเทศไทยมุ่งเน้นที่สินค้าคุณภาพ จึงคาดว่าผลกระทบในระยะสั้นจะไม่มาก รถปิคอัพ 1. ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตรถปิคอัพของโลกมาเป็นระยะเวลานาน คู่แข่งในตลาดมีจำนวนไม่มาก การลดภาษีเหลือ 0% ไม่น่าจะกระทบต่อตลาดปิคอัพของประเทศไทย
25
ความท้าทาย.... เมื่อไร้กำแพงภาษี
รถยนต์จักรยานยนต์ รถบรรทุกใหญ่และรถบัส รถจักรยานยนต์ รถจักรยานยนต์ไทยมีคุณภาพสูง และราคาที่สามารถแข่งขันได้ในระดับคุณภาพเดียวกัน ประเทศไทยมีมาตรฐานมลพิษและความปลอดภัยที่สูง ซึ่งเท่ากับเป็นกำแพงที่ป้องกันสินค้าที่อาจมีราคาถูกแต่คุณภาพต่ำไม่ให้เข้ามาทำตลาด ลักษณะของอุตสาหกรรมการผลิตรถจักรยานยนต์คือ ประเทศที่มีตลาด จะมีการตั้งฐานการผลิตด้วยสินค้าที่วางตลาดเป็นรุ่นที่แตกต่างกันไปตามแต่ละประเทศ การส่งออกในรูปรถจักรยานยนต์สำเร็จรูปจึงมีไม่มากนัก โอกาสในการส่งออก จึงมาจากการส่งออกชิ้นส่วน CKD เป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ดี แต่ละประเทศ เมื่อมีการตั้งฐานการผลิต ก็จะเพิ่มอัตราใช้ชิ้นส่วนในประเทศขึ้นไปเรื่อย ๆ การส่งออกขิ้นส่วน CKD ไปยังประเทศเหล่านั้น จึงมักค่อย ๆ ลดน้อยลง โอกาสของไทยในอุตสาหกรรมนี้ จึงอยู่ที่การเป็นฐานการผลิตชิ้นส่วนที่ต้องใช้เทคโนโลยีที่สูง แต่ต้องมีปริมาณการผลิตที่สูงมาก ๆ จึงคุ้มค่าการผลิต เช่น หัวฉีด เซนเซอร์ คาร์บูเรเตอร์ หรือ CDI เป็นต้น รถบรรทุกใหญ่และรถบัส ปริมาณการผลิตและยอดจำหน่ายภายในประเทศต่ำ ส่วนใหญ่ผลิตเพื่อใช้ในประเทศเท่านั้น ปัจจุบันปริมาณผลิตและยอดจำหน่ายรถบรรทุกใหญ่มากกว่า 5 ตันไม่สูง (เฉลี่ยประมาณ 1,500 คัน ต่อเดือน) ส่วนรถบัสอยู่ระหว่าง คัน ต่อเดือน เมื่อไร้กำแพงภาษี จึงอาจมีการผลิตที่บริษัทแม่เอง เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี หรือจีน เนื่องจากสินค้ารถบรรทุกใหญ่มีทั้งที่ต้องการคุณภาพดีและคุณภาพไม่สูงมาก (Mixed Market)
26
บทสรุป
27
อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย พัฒนา Supply Chain ของอุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมกระจก อุตสาหกรรมสีและชุบผิว อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรมเครื่องหนัง อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล อุตสาหกรรมการหล่อ อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ พัฒนา Supply Chain ของอุตสาหกรรมยานยนต์ เพื่อให้มีความเข้มแข็งและสามารถ supply วัตถุดิบต้นน้ำ เพื่อให้อุตสาหกรรมยานยนต์เข้มแข็งและแข่งขันได้ในตลาดโลก
28
แรงสนับสนุนที่ต้องการจากภาครัฐ
นโยบายที่ชัดเจน และสอดคล้องในทุกภาคส่วน ทุกหน่วยงานร่วมกันดำเนินตามนโยบายที่วางไว้ โดย การร่วมประสานระหว่างภาครัฐและเอกชน บรรยากาศทางธุรกิจและแรงจูงใจในการประกอบ ธุรกิจในประเทศ
29
ขอบคุณ และสวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.