งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมเซรามิกส์ไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมเซรามิกส์ไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมเซรามิกส์ไทย
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “โครงการจัดทำแผนแม่บทอุตสาหกรรม           ---รายสาขา (สาขาเซรามิกและแก้ว). รายงานฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อ           ---สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม”.,กระทรวงอุตสาหกรรม :หน้า

2 By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
1.  มีแรงงานฝีมือที่ประณีต และมีวินัย 2.  มีรากฐานทางวัฒนธรรม 3.  มีบรรยากาศเหมาะสมแก่การลงทุนสำหรับบริษัทต่างชาติ 4.  มีตลาดในประเทศและประเทศเพื่อนบ้านรองรับสำหรับผลิตภัณฑ์เกรดรองลงมา      5. มีตลาดในประเทศรองรับสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน 1.  ผู้ผลิตส่วนใหญ่ไม่มีDesignsของตนเอง 2.  ผู้ประกอบการSMEsขาดความรู้ทางด้านการจัดการธุรกิจ 3.  ผู้ประกอบการเหมืองขนาดเล็กยังขาด Know-how ที่เหมาะสม 4.  โรงงานส่วนใหญ่เป็นโรงงานรุ่นแรกๆ ใน ASEAN ที่ตั้งมานานกว่า 10 ปี  5.  ผู้ประกอบการขาดความรู้ในด้านเครื่องจักร ความสำคัญของการพัฒนาคน 7.  ภาวะขาดแคลนอาจารย์ผู้สอนวิชาเซรามิกดั้งเดิม 1.  การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและมีมูลค่าสูง 2.  การผลิตสินค้าที่มีศักยภาพด้านการตลาดและมีมูลค่าเพิ่มค่อนข้างสูง 3.  ศึกษาลู่ทางและความเป็นไปได้ในการผลิตสินค้าเซรามิก High Tech ตลอดจนสินค้าเซรามิกยุคใหม่ (New Ceramics) 4. เกิดการไหลเวียนของความรู้และเทคโนโลยีในประเทศอย่างกว้างขวาง และทำให้การให้บริการลูกโซ่การผลิตในประเทศครบวงจร 1.  สหรัฐอเมริกากำลังผ่านกฎหมายที่จะลดภาษีนำเข้าสินค้าจากเวียดนาม 2.  การเป็นสมาชิก WTO ของจีนทำให้การกีดกันผลิตภัณฑ์เซรามิกใน WTO ลดลง 3.  การย้ายฐานของผู้ผลิตของเพื่อนบ้าน 4.  การสร้างกลไกกีดกันทางการค้าของประเทศคู่ค้าและประเทศคู่แข่ง ได้แก่ มาตรฐานต่างๆ ความปลอดภัยของผู้บริโภค ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมทำให้ต้นทุนสูงขึ้น 5. วิกฤตซับไพร์มของอเมริกา 6. ราคาน้ำมันที่สูงขึ้นมีผลต่อราคาแก๊สและค่าขนส่ง By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

3 ธุรกิจเซรามิกส์ แนวโน้ม SMEs สาขาเซรามิกส์ ปี 2549 ไตรมาส 4
ข้อมูล : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางขนาดย่อม (สสว.)

4 ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมแก้วและเซรามิก (30 /11/2549)
อุตสาหกรรมแก้วและเซรามิกจัดเป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ โรงงานขนาดกลางและขนาดเล็กจะใช้แรงงานคนเป็นส่วนใหญ่ในการผลิต ได้แก่ โรงงานผลิตเครื่องแก้วและบรรจุภัณฑ์แก้ว โรงงานแก้วศิลป์ โรงงานผลิตเครื่องปั้นดินเผา หรือโรงงานผลิตเซรามิก อุตสาหกรรมอื่น ๆ เช่น การก่อสร้าง อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมแก้วและเซรามิกส์สร้างมูลค่าเพิ่มจากการผลิตในประเทศได้เป็นจำนวนมาก เพราะวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตส่วนใหญ่สามารถหาได้จากภายในประเทศ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จะเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) กระจายตัวอยู่ทั่วประเทศ จึงมีส่วนช่วยสร้างและกระจายรายได้ไปสู่ชนบทได้เป็นอย่างดี ปี 2549 อุตสาหกรรมเซรามิกมีมูลค่าตลาดโดยรวมประมาณ 18,000 – 20,000 ล้านบาท By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

5 ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549)
นิยามของอุตสาหกรรมเซรามิก หมายถึง โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ที่ส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ทั้งหมดหรือส่วนใหญ่ผลิตจากวัตถุดิบที่มีอยู่ตามธรรมชาติบนเปลือกโลก ซึ่งกรรมวิธีการผลิตต้องผ่านการเผาที่อุณหภูมิสูง อุตสาหกรรมเซรามิกจะประกอบด้วย เซรามิกชนิดไม่ทนไฟซึ่งไม่ได้ใช้ในงานก่อสร้าง เซรามิกทนไฟ เซรามิกชนิดไม่ทนไฟซึ่งใช้กับงานก่อสร้าง อุตสาหกรรมเซรามิกพื้นฐานของอุตสาหกรรมประเภทอื่น ๆ อุตสาหกรรมไฟฟ้า อุตสาหกรรมแก้ว อุตสาหกรรมก่อสร้าง อุตสาหกรรมซีเมนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

6 By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

7 By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

8 By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

9 By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

10 By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย การแข่งขันในตลาดโลกของสาขาผลิตภัณฑ์เซรามิก พบว่า ประเทศไทยมีอัตราการเติบโตค่อนข้างสูง (39.34 %) เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยของตลาดโลกที่มีอัตราการเติบโต -8.2% มีส่วนแบ่งทางการตลาดที่ 0.02 เท่า แต่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของตลาดโลก (0.1) โดยตกอยู่ในสถานะเฝ้าระวัง ต้องพยายามเพิ่มส่วนแบ่งตลาดให้สูงขึ้น กลุ่มผู้นำ ได้แก่ China, Italy, United Kingdom เป็นต้น By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

11 By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

12 By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย การแข่งขันของ SMEs ในสาขาแก้วและเซรามิกมีอัตราการเติบโตลดลงจากระดับ 0.8% ในปี เป็น -4.8% ในปี และต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศค่อนข้างมาก (14.5% สำหรับ ปี 2548) ในขณะที่มีส่วนแบ่งทางการตลาด 0.01 เท่าในปี 2549 ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมทั้งหมด (0.1) โดยตกอยู่ในสถานะตกต่ำ จำเป็นต้องปรับปรุงเพื่อขยายอัตราการเติบโตและส่วนแบ่งตลาดให้สูงขึ้นต่อไป By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

13 By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya

14 By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย การแข่งขันของ SMEs ประเภทแก้วและเซรามิก ในปี 2549 เทียบกับปี 2548 จะพบว่า ทุกผลิตภัณฑ์จะมีอัตราการเติบโตลดลง ได้แก่ ถ้วยชามทำด้วยเซรามิก ผลิตภัณฑ์เซรามิกอื่นๆ ของชำร่วยและเครื่องประดับ กระเบื้องปูพื้นปิดผนังและโมเสค เครื่องสุขภัณฑ์ ส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น ได้แก่ ถ้วยชามทำด้วยเซรามิก ผลิตภัณฑ์เซรามิกอื่นๆ ส่วนแบ่งตลาดลดลง ได้แก่ ของชำร่วยและเครื่องประดับ กระเบื้องปูพื้นปิดผนังและโมเสค By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya


ดาวน์โหลด ppt สภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมเซรามิกส์ไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google