ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Power measurement Air compressor
2
Objective เพื่อหาและเปรียบเทียบ indicated horsepower and brake horsepower (Ihp.&Bhp.) เพื่อหาสมรรถภาพของ Air Compreesor ซึ่งประกอบด้วย - อัตราการไหลของอากาศ - Ihp - Bhp - ประสิทธิภาพของ Air Compreesor ηm(Mechanical Efficiency) และ ηv (Volumetric Efficiency) โดยหาอัตราส่วนความดัน (Pressure ratio) ที่ความเร็วของ Air Compressor เป็น 500 +/- 10 รอบต่อนาที
3
Definition Air compressor คือ อุปกรณ์หรือเครื่องที่ใช้เพิ่มความดันของของไหล(อากาศ)โดยอัดลดปริมาตรของของไหลที่ใส่เข้าไป indicated horsepower (Ihp) คือ พลังงานที่เราได้ออกมาจาก Air Compressor brake horsepower (Bhp) คือ พลังงานที่เราใส่ให้กับมอเตอร์
4
DRD
5
DRD
6
DRD
7
DRD
8
DRD
9
Schematic diagram of test rig
10
วัด ความดันบรรยากาศ อุณหภูมิบรรยากาศ เดินเครื่อง
ηv วัด ความดันบรรยากาศ อุณหภูมิบรรยากาศ เดินเครื่อง ปรับกระแสไฟให้ความเร็วรอบให้ประมาณ 500 rpm (Gage หยาบ) ปรับ Dischage Pressure ให้ตรงตามที่ต้องการ วัดค่าแบบต่างๆ วัดความเร็วรอบแบบละเอียด วัด Spring force วัด อุณหภูมิขาเข้าและขาออก compressor เขียนกราฟ Bhp mep Ihp Q ηm
11
INCLINED MANOMETER ใช้สำหรับหา MANOMETER READING
Instruments INCLINED MANOMETER ใช้สำหรับหา MANOMETER READING
12
SPRING INDICATOR ใช้สำหรับวาด PV DIAGRAM
Instruments SPRING INDICATOR ใช้สำหรับวาด PV DIAGRAM
13
BAROMETER ใช้สำหรับหา ATMOSPHERIC PRESSURE
Instruments BAROMETER ใช้สำหรับหา ATMOSPHERIC PRESSURE
14
Instruments : Dynamometer
REVOLUTION COUNTER ใช้สำหรับหา ความเร็วรอบ/นาที (N) SPRING BALANCE ใช้สำหรับหา SPRING FORCE
15
THERMOMETERS ใช้สำหรับหา SUCTION TEMPERATURE และ DISCHARGE TEMPERATURE
Instruments THERMOMETERS ใช้สำหรับหา SUCTION TEMPERATURE และ DISCHARGE TEMPERATURE
16
POLAR PLANIMETER ใช้สำหรับหา CARD AREA
Instruments POLAR PLANIMETER ใช้สำหรับหา CARD AREA
17
Calculation การหา CARD AREA - ใช้ POLAR PLANIMETER 4 in2
18
Theory Ihp = Bhp = m.e.p. = P Card area Atmospheric line Card length
19
Calculation การหา CARD AREA - ดูค่าจากเครื่อง POLAR PLANIMETER ว่าเริ่มต้นที่เท่าใด - ใช้วัดค่าพื้นที่ที่เราทราบแน่นอน โดยในที่นี้วัดพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 4 in2 4 in2
20
ได้ค่าจากเครื่อง POLAR PLANIMETER ใหม่แล้วนำมาลบกับค่า เดิม ได้ผลต่างมา นำพื้นที่ของรูปที่รู้แน่นอนมาหารด้วยผลต่าง ได้ อัตราส่วนระหว่างพื้นที่จริงกับค่าที่ได้วัดจากเครื่อง POLAR PLANIMETER - ใช้วัดค่าพื้นที่ที่ได้จากเครื่อง SPRING INDICATOR ได้ CARD AREA
21
Uncertainty Analysis ตารางสรุปผล Pressure Ratio Bhp Ihp dQ/dt Nm Nv
2.72 1.765+/-0.016 1.18+/-0.19 12.71+/-0.16 67.04+/-10.80 85.89+/-1.32 4.43 2.215+/-0.024 1.73+/-0.16 11.71+/-0.17 78.29+/-7.06 80.35+/-1.45 6.15 2.566+/-0.010 2.15+/-0.15 11.00+/-0.19 83.92+/-5.83 75.48+/-1.30 7.86 2.753+/-0.010 2.26+/-0.09 10.63+/-0.19 82.17+/-3.17 73.26+/-1.33 9.58 2.934+/-0.011 2.38+/-0.08 9.84+/-0.20 80.99+/-2.59 67.96+/-1.43
22
Graph Results
23
Graph Results
24
Graph Result
25
Discussion เมื่อ Pressure Ratio เพิ่มขึ้น Card Area จะเพิ่มขึ้นแสดงว่าเมื่อเพิ่ม Pressure จะเป็นการเพิ่ม Work ให้กับอากาศที่ถูกอัด จากการสังเกตกราฟ Ihp - Bhp ได้ว่าค่า Ihp น้อยกว่า Bhp เสมอ แสดงว่าพลังงานที่ให้กับมอเตอร์มีการสูญเสียไปในรูปพลังงานอื่นๆ จากกราฟระหว่าง dQ/dt - Pressure Ratio ได้ว่าเมื่อ Pressure Ratio มี ค่าเพิ่มขึ้น dQ/dt มีค่าลดลงแสดงว่า dQ/dt แปรผกผันกับ Pressure Ratio คือเมื่อเราให้ Air Compreesor ทำงานที่ความดันสูงขึ้นเราจะได้ ปริมาตรอากาศที่น้อยลงนั่นเอง จากกราฟ ηm ηv - Pressure Ratio ได้ว่ากราฟ ηm เป็นรูประฆังคว่ำ มีจุดสูงสุดของกราฟ และมีจุดตัดกับกราฟ ηv
26
Conclusion Brake Horsepower (Bhp) กับ Indicated Horsepower (Ihp) มีค่าเพิ่มขึ้น เมื่อ Pressure Ratio เพิ่มขึ้นและ Bhp มากกว่า Ihp เสมอ เมื่อ Pressure Ratio เพิ่มขึ้น dQ/dt มีค่าลดลงเมื่อPressure Ratio เพิ่มขึ้น และ ηv มีค่า ลดลงด้วย เนื่องจากηv เป็นค่าที่แปรผันตาม dQ/dt ηm มีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อ Pressure Ratio เพิ่มขึ้น และค่อยๆลดอัตรา การเพิ่มขึ้นลง จนมีจุดสูงสุดอยู่ที่ (6.15, /-5.83) จากนั้นจะมี ค่าลดลงเมื่อ Pressure Ratio เพิ่มขึ้น ηv มีแนวโน้มลดลงเมื่อ Pressure Ratio เพิ่มขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.