งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ Organization Development Survey

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ Organization Development Survey"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ Organization Development Survey
ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ โดย ... กองแผนงาน & กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

2 การประเมินผลจาก Survey Online
ผลการสำรวจครั้งที่ 1 (1-15ธ.ค.54) เป็นข้อมูลนำไปดำเนินการพัฒนาองค์การโดยจำนวนผู้ตอบแบบสำรวจออนไลน์ต้องไม่น้อยกว่าจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่กำหนด (331 คน) กรมอนามัย มีผู้ตอบแบบสำรวจ 752 คน คิดเป็นร้อยละ ของเป้าหมาย และคิดเป็นร้อยละ ของข้าราชการกรมอนามัย (1,905 คน) หมายเหตุ : บุคลากรกรมอนามัย ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2554 จำนวนทั้งสิ้น 1,905 คน เพศชาย คน ร้อยละ 14.59 เพศหญิง ,627 คน ร้อยละ 85.41 สังกัดส่วนกลาง คน ร้อยละ 26.35 สังกัดส่วนภูมิภาค ,403 คน ร้อยละ 73.65 แหล่งข้อมูล : กองการเจ้าหน้าที่ กรมอนามัย ความคิดเห็น หมายถึง การแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งของบุคลากรภายในองค์การ กับข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ความสำคัญ หมายถึง การให้น้ำหนักในการพิจารณากับเรื่องที่เห็นว่ามีคุณค่า มีประโยชน์ หรือมีผลกระทบต่อองค์การ หรือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นมากกว่าเรื่องอื่น

3 ปัญหาอุปสรรคที่พบจากการสำรวจออนไลน์
ไม่มีการชี้แจงทำความเข้าใจข้อคำถามให้ชัดเจนก่อนการสำรวจ ผู้ตอบ ไม่เข้าใจข้อคำถาม/ เข้าใจไม่ตรงกัน เช่น ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้อมูล ระบบเครือข่าย หมายถึงระบบของกรมหรือระบบของหน่วยงาน ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชาหมายถึงใครบ้าง คำถามไม่สามารถแยกระหว่าง “ความเห็น” กับ “ความสำคัญ” เป็นการตอบตามความรู้สึก และอารมณ์ ผลการสำรวจเป็นภาพรวมของกรมอนามัย ไม่สามารถจำแนกรายหน่วยงาน ฯลฯ

4 ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลส่วนบุคคล จำนวนคน ร้อยละ เพศ ชาย 94 12.50 หญิง 658
 ข้อมูลส่วนบุคคล  จำนวนคน ร้อยละ   เพศ   ชาย  94 12.50  หญิง  658  87.50  อายุ    ปี  54   7.18   ปี  246  32.71   ปี  187  24.87  51 ปีขึ้นไป  265  35.24  ตำแหน่ง   ทั่วไประดับปฏิบัติการ  29   3.86  ทั่วไประดับชำนาญการ  147  19.55  ทั่วไประดับอาวุโส  2   0.27  วิชาการระดับปฏิบัติการ  69  9.18  วิชาการระดับชำนาญการ  384  51.06  วิชาการระดับชำนาญการพิเศษ  101  13.43  วิชาการระดับเชี่ยวชาญ  11  1.46  วิชาการระดับทรงคุณวุฒิ  -   0.00  อำนวยการระดับต้น  3  0.40  อำนวยการระดับสูง   0.27  บริหารระดับต้น  4  0.53  สถานที่ปฏิบัติงาน   ส่วนกลาง  191  25.40  ส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในภูมิภาค  561  74.60

5 เปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็นและความสำคัญ ของผู้ใช้งานสารสนเทศ
คำถาม Gap ความเห็น ความสำคัญ ระบบสารสนเทศ (Systems) 1. ระบบสารสนเทศที่มีช่วยให้ข้าพเจ้าสามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง 0.4 3.3 3.7 2. ข้าพเจ้าสามารถค้นหาข้อมูลผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับใช้ในการทำงานได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว ระบบฐานข้อมูล (Database) 3. ระบบฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นสามารถนำมาใช้สนับสนุนการทำงานได้เป็นอย่างดี 3.2 3.6 4. ระบบฐานข้อมูลสามารถสนับสนุนการสื่อสารองค์ความรู้ และการแลกเปลี่ยนในเรื่องของวิธีการปฏิบัติที่ดี (Best/Good Practices) ภายในส่วนราชการ 5. ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนต่อการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ระบบเครือข่าย (Network) 6. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายใน ส่วนราชการ (Network) ช่วยอำนวยความสะดวกต่อการทำงาน ของข้าพเจ้า เฉลี่ยภาพรวม

6 เปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็นและความสำคัญ
คำถาม Gap (0.4) ความเห็น (3.2) ความสำคัญ 19. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าผู้บริหารมีความยุติธรรม 0.6 2.9 3.5 20. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าส่วนราชการของข้าพเจ้ามีการทำงานอย่างซื่อตรงไม่ทุจริตคอร์รัปชั่น 3.0 3.6 7. ข้าพเจ้าเข้าใจทิศทางและกลยุทธ์ของส่วนราชการ 0.5 3.1 16. ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชาให้ความสนใจกับความคิดเห็นของข้าพเจ้าเสมอ 0.4 3.4 9. ข้าพเจ้าสามารถขอคำปรึกษาจากผู้บังคับบัญชาได้ตลอดเวลารวมทั้งได้รับการสนับสนุน เพื่อให้การทำงานประสบความสำเร็จ 10. ข้าพเจ้ามีอุปกรณ์และวัสดุที่จำเป็นเพียงพอต่อการทำงานให้สำเร็จ 13. สภาพแวดล้อมการทำงานในปัจจุบันทำให้ข้าพเจ้าทำงานอย่างมีความสุข 29. ส่วนราชการของข้าพเจ้าได้นำองค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนางาน ให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง 12. ผู้บังคับบัญชาหรือเพื่อนร่วมงานเห็นว่างานที่ข้าพเจ้าทำมีประโยชน์และมีคุณค่า 3.2 22. ข้าพเจ้ามีความสุขกับการทำงานที่รับผิดชอบอยู่ในปัจจุบัน 23. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้ประสบความสำเร็จ 25. การทำงานของข้าพเจ้าไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการใช้เวลากับชีวิตส่วนตัวและครอบครัวของข้าพเจ้า 26. ส่วนราชการของข้าพเจ้าส่งเสริมการทำงานเป็นทีมเพื่อให้เกิดความร่วมมือและการทำงาน ที่มีคุณภาพดี 28. ข้าพเจ้าได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาตนเองในด้านความรู้ความสามารถ ในการทำงานอย่างสม่ำเสมอ 27. ข้าพเจ้าเชื่อว่าผู้รับบริการได้รับบริการที่ดีที่สุดจากส่วนราชการของข้าพเจ้า 3.3 3.7 15. ข้าพเจ้ามีโอกาสแสดงความคิดเห็นในงานที่รับผิดชอบได้อย่างเต็มที่ 0.3 24. ข้าพเจ้าสามารถกำหนดและดำเนินการตามแผนในการทำงานได้ตามความเหมาะสม 30. ข้าพเจ้ามีความรู้สึกว่างานของข้าพเจ้ามีความท้าทายและช่วยให้ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ และมีประสบการณ์มากขึ้น 8. ข้าพเจ้ามีความภูมิใจที่ได้ปฏิบัติงานในส่วนราชการนี้ 11. ข้าพเจ้ามีความภูมิใจและมีความสุขที่สามารถทำงานให้สำเร็จตรงตามเป้าหมาย 14. ข้าพเจ้ามั่นใจว่าหน่วยงานของข้าพเจ้าไม่มีการละเมิดหรือคุกคามทางเพศ 17. ข้าพเจ้ามีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างชัดเจนว่าจะต้องปฏิบัติงานอย่างไร จึงจะทำให้งานประสบความสำเร็จ 21. ข้าพเจ้ายินดีที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานเพื่อให้งานสำเร็จตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย 18. ข้าพเจ้าปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของส่วนราชการ 3.8 (3.6)

7 ผลการเปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็น
และความสำคัญ ของผู้ใช้งานสารสนเทศ ด้านระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย ให้ความสำคัญสูง 3.7 ด้านระบบฐานข้อมูลให้ความสำคัญ 3.6 จากคะแนนเต็ม 4 แสดงว่าผู้ใช้งานสารสนเทศ ให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ค่อนข้างสูง ความเห็นต่อระบบทั้ง 3 มีค่า ระดับปานกลางใกล้เคียงกัน และ GAP หรือส่วนต่างระหว่างความสำคัญกับความคิดเห็น = 0.4 ซึ่งไม่สูงนัก โดยสรุปภาพรวมขององค์กรถือว่า Infrastructure ด้าน IT ของกรมอนามัยค่อนข้างดี แต่ควรเน้นเรื่องการปรับปรุงฐานข้อมูลให้ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย เพื่อใช้สนับสนุนการทำงาน สื่อสารองค์ความรู้และแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานที่ดีมากขึ้น สื่อสารให้คนกรมอนามัย รู้จัก และใช้ประโยชน์จากระบบฐานข้อมูลที่มีอยู่ให้มากขึ้น

8 ผลการเปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็นและความสำคัญ
ข้อ 19. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าผู้บริหารมีความยุติธรรม ข้อ 20. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าส่วนราชการมีการทำงานอย่างซื่อตรงไม่ทุจริต คอร์รัปชั่น ข้อ 7. ข้าพเจ้าเข้าใจทิศทางและกลยุทธ์ของส่วนราชการ ข้อที่มีค่า GAP กลางๆ คือ 0.4 ให้ความสำคัญระดับกลางๆ คือ เช่นข้อ ซึ่งคำถามสะท้อนบรรยากาศการทำงานที่เกี่ยวข้องกับผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงานหรือ หน่วยงานเป็นส่วนมาก แนวทางการพัฒนาอาจใช้การเป็นพี่เลี้ยง และให้คำปรึกษา (Coaching and mentoring) การสำรวจความต้องการ หรือเรียนรู้จากผู้ปฏิบัติงาน ข้อที่ผู้ตอบให้ความสำคัญสูง แต่ GAP ไม่สูง ได้แก่ ข้อ ซึ่งเป็นเรื่องที่สะท้อนความสามารถของตนเอง (ว่าเป็นคนดีมีความสามารถ ) อาจไม่ต้องแก้ไขมากนัก

9 สรุป : แนวทางการพัฒนาองค์การกรมอนามัย
ไม่ควรแก้ไขปัญหาโดยการทำแผนเพื่อลด GAP เป็นข้อ ๆ แต่ควรมองในภาพรวมอย่างบูรณาการกัน วิธีการพัฒนา หรือแก้ปัญหา ต้องใช้วิธีการบริหารจัดการองค์กร คือการบริหารคน กับการบริหารงาน ไปด้วยกัน ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง ถ่ายทอดมาที่ระดับกลาง (หัวหน้าหน่วยงาน หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย หัวหน้างาน) จนถึงผู้ปฏิบัติ โดยหลัก Organization Leadership and communication คือการนำองค์กรและการสื่อสารภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง


ดาวน์โหลด ppt การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ Organization Development Survey

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google