ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
2
ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost)
ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายจริงทั้งเป็น ตัวเงินหรือสิ่งของ ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost)
3
ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง / ต้นทุนแอบแฝง (Implicit Cost)
ต้นทุนที่ไม่ได้จ่ายออกไปจริงๆ แต่ได้ประเมินขึ้นเป็นต้นทุนซึ่งอยู่ในรูปของ “ต้นทุนค่าเสียโอกาส” ของปัจจัยการผลิตที่นำมาผลิตสินค้า
4
ต้นทุนทางบัญชี = ต้นทุนชัดแจ้ง
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ = ต้นทุนชัดแจ้ง + ต้นทุนแอบแฝง
5
ต้นทุนของเอกชน หรือ ต้นทุนภายใน
(Private Cost or Internal Cost) ต้นทุนทุกชนิดที่ผู้ผลิตใช้จ่ายในการผลิตสินค้า และบริการ ทั้งที่จ่ายจริงและไม่ได้จ่ายจริง ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
6
ต้นทุนของสังคม (Social Cost)
ต้นทุนทุกชนิดที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการ ชนิดใดชนิดหนึ่งที่สังคมต้องรับภาระ Social Cost = Private Cost + External Cost ต้นทุนที่บุคคลอื่นที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าและบริการนั้นต้องภาระ ต้นทุนภายนอก (External Cost)
7
ต้นทุนการผลิตน้ำตาลจากอ้อย
โรงงานน้ำตาล - 20 ต้นทุนภายนอก 60 70 ต้นทุนของสังคม 50 ต้นทุนเอกชน เครื่องบำบัดน้ำเสีย ต้นทุนการผลิตน้ำตาลจากอ้อย มี ไม่มี
8
ต้นทุนระยะสั้น (Short Run Cost)
ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost : TFC) ต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ต้นทุนแปรผันรวม (Total Variable Cost : TVC) ต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ต้นทุนรวม (Total Cost : TC) TC = TVC TFC TC = f ( Q )
9
ต้นทุนรวมเฉลี่ย (Average Total Cost : AC)
ต้นทุนรวมคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย AC = TC Q [ TC = f ( Q ) ] = TFC TVC TFC TVC + = AFC + AVC = AFC AVC
10
ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost : AFC)
ต้นทุนคงที่รวมคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย AFC = TFC Q ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย (Average Variable Cost : AVC) ต้นทุนแปรผันรวมคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย AVC = TVC
11
ต้นทุนส่วนเพิ่ม หรือ ต้นทุนหน่วยสุดท้าย
(Marginal Cost : MC) ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย TC = f ( Q ) MC = TC Q
12
MC = TC Q (TFC + TVC) = TFC TVC 0 ; TFC คงที่ TVC
13
11 10 13 14 17 20 25 33 50 100 - 47 46 45 57 69 92 150 36 40 31 30 32 42 59 75 48 38 23 19 24 34 425 500 366 318 280 250 227 208 184 AC AVC AFC MC TC 325 9 400 266 8 218 7 180 6 5 127 4 108 3 84 2 1 TVC TFC Q
14
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) 100 TFC TVC TC = TC = TVC + TFC
15
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) MC
16
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) AFC = TFC Q AFC
17
ต้นทุน (บาท) MC จุดต่ำสุดของ AC AC AVC จุดต่ำสุดของ AVC ผลผลิต (หน่วย)
MC AVC AC AFC จุดต่ำสุดของ AC จุดต่ำสุดของ AVC
18
ความสัมพันธ์ระหว่าง MC และ AVC (AC)
บาท Q MC AVC AC ความสัมพันธ์ระหว่าง MC และ AVC (AC) ถ้า MC อยู่ต่ำกว่า AVC (AC) ค่า AVC (AC) จะลดลง เมื่อปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น ถ้า MC อยู่เหนือ AVC (AC) ค่า AVC (AC) จะเพิ่มขึ้น เมื่อปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น MC = AVC (AC) เมื่อ AVC (AC) มีค่าต่ำสุด
19
ต้นทุนระยะยาว (Long Run Cost)
ต้นทุนรวมในระยะยาว (Long Run Total Cost : LTC) ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้าซึ่งจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ถ้าไม่ผลิต : ต้นทุนเป็น “ศูนย์”
20
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) LTC
21
ต้นทุนเฉลี่ยในระยะยาว
(Long Run Average Cost : LAC) ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นในการผลิตระยะยาว คิดเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของผลผลิต LAC = LTC Q
22
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) LAC SAC1 SAC3 SAC2 X1 X2 X3
23
ต้นทุนส่วนเพิ่มในระยะยาว
(Long Run Marginal Cost : LMC) ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย LMC = LTC Q
24
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) LMC LAC จุดต่ำสุดของ LAC
25
รายรับจากการขาย (Revenue)
26
รายรับจากการขายหรือรายรับจากการผลิต
รายได้ที่ผู้ผลิตได้รับจากการขายผลผลิตของตนตามราคาตลาด
27
รายรับรวม (Total Revenue : TR)
รายรับทั้งหมดที่ผู้ขายได้รับจากการขายสินค้าตามราคาที่กำหนด TR = f (Q) = P x Q เมื่อ P คือ ราคาต่อหน่วย Q คือ ปริมาณขาย
28
รายรับเฉลี่ย (Average Revenue : AR)
รายรับรวมเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า AR = TR Q = P x Q P
29
รายรับหน่วยสุดท้าย หรือ รายรับส่วนเพิ่ม
(Marginal Revenue : MR) รายรับรวมที่เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MR = TR Q
30
- 2 2 4 6 8 10 5 7 9 28 30 24 18 MR AR TR 3 1 ปริมาณ (Q) ราคา (P)
31
เส้นอุปสงค์ TR AR = P AR MR รายรับ (บาท) Q (หน่วย) 5 1 10 15 20 25 30
5 1 10 15 20 25 30 2 3 4 6 7 - 5 TR AR MR เส้นอุปสงค์ AR = P
32
ความสัมพันธ์ระหว่าง TR, AR และ MR
ในช่วงที่ MR > 0 TR จะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณขายเพิ่มขึ้น ในช่วงที่ MR = TR จะมีค่าสูงสุด MR และ AR จะมีค่าที่ลดลงเรื่อยๆ เมื่อปริมาณขายเพิ่มขึ้น แต่ MR จะมีค่าที่น้อยกว่า AR เสมอ
33
ดุลยภาพของผู้ผลิต
34
เป้าหมายของผู้ผลิต กำไรสูงสุด ดุลยภาพของผู้ผลิต
35
กำไร (Profit) กำไร = TR – TC กำไรทางเศรษฐศาสตร์ = TR – ต้นทุนชัดแจ้ง – ต้นทุนแอบแฝง
36
กำไรแท้จริง หรือกำไรทางเศรษฐศาสตร์
ถ้า TR = TC กำไร = “ศูนย์” กำไรปกติ (Normal Profit) ถ้า TR > TC กำไร > “ศูนย์” กำไรแท้จริง หรือกำไรทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Profit) ถ้า TR < TC กำไร < “ศูนย์” ขาดทุน หรือกำไรที่ ต่ำกว่ากำไรปกติ (Economic Loss)
37
นางสาวแดงเป็นพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ซึ่งได้รับเงินเดือนคิดแล้วได้ปีละ 50,000 บาท ต่อมาแดงลาออกแล้วมาเปิดร้านอาหาร โดยเอาตึกแถวที่ ตนเองเคยให้คนอื่นเช่าปีละ 20,000 บาท มาเป็นร้านอาหาร ในปีนั้น แดงได้รายได้ทั้งหมด 500,000 บาท แต่ต้องเสียค่าจ้างพนักงานเสริฟ และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เป็นจำนวน 350,000 บาท และ 50,000 บาท ตามลำดับ นางสาวแดงได้รับกำไรประเภทใดในทางเศรษฐศาสตร์
38
กำไร - เงินค่าเช่า - เงินเดือนที่ควรได้ หัก ต้นทุนแอบแฝง - อุปกรณ์
30,000 100,000 กำไร 20,000 - - เงินค่าเช่า 50,000 - เงินเดือนที่ควรได้ หัก ต้นทุนแอบแฝง - อุปกรณ์ 350,000 - ค่าจ้าง หัก ต้นทุนชัดแจ้ง 500,000 รายได้ เศรษฐศาสตร์ บัญชี รายการ
39
สมมติ ผู้ผลิตรายหนึ่งพบว่าสินค้าของเขาสามารถขายได้ในราคาชิ้นละ 70 บาท และมีต้นทุนการผลิต ดังตาราง
เงื่อนไขการเกิดกำไรสูงสุด
40
112 90 70 54 43 33 25 18 14 19 29 45 - 188 230 250 234 207 170 125 73 17 - 34 - 75 - 100 840 770 700 630 560 490 420 350 280 210 140 MC MR Profit TR 652 12 540 11 450 10 380 9 326 8 283 7 6 225 5 4 193 3 174 2 145 1 100 TC Q
41
บาท ปริมาณ (Q) TC TR a b กำไรรวมสูงสุด 10
42
บาท ปริมาณ (Q) MC MR 10 70
43
บาท ปริมาณ (Q) TC Q TR กำไรรวมสูงสุด
44
บาท ปริมาณ (Q) MC MR Q
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.