ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNuengnimman Chanpakdee ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
2
ทำไมประเทศต่างๆต้องทำการค้า
ด้านทรัพยากร ด้านทักษะความชำนาญ เทคโนโลยี
3
สาเหตุที่นักธุรกิจสนใจตลาดต่างประเทศ
4
ตัวอย่างประเทศที่ดำเนินนโยบายเปิดและปิดตลาดการค้า
สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง จีน ประเทศเปิด กานา โซเวียต พม่า เกาหลีเหนือ ประเทศปิด
5
ความสำคัญของการค้าระหว่างประเทศ
1. เป็นกลไกสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2. มีการใช้ทรัพยากรอย่างเต็มที่ และมีประสิทธิภาพมาก 3. ขนาดของตลาดภายในประเทศขยายตัว 4. เกิดการเรียนรู้ทักษะและถ่ายทอดทางด้านเทคโนโลยี 5. เกิดการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศ
6
ขนาดของการค้าระหว่างประเทศ
อัตราการเปิดประเทศ สัดส่วนมูลค่าการค้าระหว่างประเทศเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (X + M) / Y
7
ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
1. ระยะสั้น การผลิต : มีความชำนาญจึงได้ผลผลิตมากกว่าเดิม การบริโภค :ผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าในปริมาณเพิ่มขึ้น หลากหลาย ราคาถูก
8
2. ระยะยาว เกิดการเพิ่มพูนวิทยาการสมัยใหม่
เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปัจจัยการผลิต เกิดการลงทุนในต่างประเทศ เกิดการแข่งขัน
9
บทบาทหน้าที่ ภาครัฐ -สถาบันตรวจสอบสินค้า -การเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
-สถาบันการเงินที่จะตรวจสอบผู้ซื้อและโอนเงินระหว่างประเทศ -หน่วยงานอำนวยความสะดวกด้านการค้า เช่นกรมศุลกากร กรมส่งเสริมการส่งออก -ผู้ประสานงานการค้า :ทูตพาณิชย์
10
บทบาทหน้าที่ ภาคเอกชน -ผู้ส่งออก -ผู้นำเข้า
-ผู้ผลิตในประเทศที่ต้องการวัตถุดิบ -บริษัทการค้าหรือพ่อค้าส่งหรือดีลเลอร์ตัวแทนจำหน่ายหรือเอเย่นต์ เป็นตัวแทนการขาย -ผู้เข้าไปลงทุนผลิตในต่างประเทศ -ผู้เข้าไปลงทุนทำธุรกิจ(รายเดียว,พันธมิตร joint venture) -ผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการขนส่งและธุรกิจต่อเนื่องอื่นๆ
11
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการค้า
ด้านอุปทาน 1.แรงงานเป็นทั้งผู้บริโภคและปัจจัยการผลิต 2.ทรัพยากรไม้ ดิน น้ำ น้ำมัน สินแร่ 3.ผู้นำเทคโนโลยี 4.อื่นๆเช่นสภาพเศรษฐกิจ กฎหมายและการเมือง สังคมและ วัฒนธรรมสภาพการเปิดประเทศหรือปิดประเทศ
12
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการค้า
ด้านอุปสงค์ 1.จำนวนประชากร 2.อำนาจซื้อหรือรายได้ 3.ราคาสินค้าในประเทศ/ส่งออกนำเข้า 4.อื่นๆเช่นอัตราแลกเปลี่ยน ภาษี ค่าขนส่ง รสนิยม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.