ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสืบค้นข้อมูลบนระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
2
ข้อมูลที่จะถูกสืบค้นได้ในอินเทอร์เน็ต
อาจอยู่ในรูปแบบของ Web Pages Directories Index สืบค้นโดยใช้ Search Engine สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
3
โปรแกรมสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
ใช้สำหรับการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต มักจะเป็น Web-base Applications มีหลากหลายโปรแกรม มีคุณสมบัติและความสามารถที่แตกต่างกัน มีการออกแบบเพื่อกิจกรรมเฉพาะอย่าง สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
4
ตัวอย่าง Search Engine เว็บไซท์
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
5
วิธีการใช้งาน Search Engine
โดยทั่วไปแล้ว Search Engine สามารถทำงานแบบ Basic/Simple Search ได้เสมอ สำหรับการค้นหาแบบเฉพาะเจาะจง หรือ Advanced Search จะได้ผลตรงตามต้องการมากกว่า แต่ละ Search Engine จะมีวิธีการที่แตกต่างกันออกไป สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
6
รูปแบบต่างๆ ของ Advanced Search
การค้นหาแบบบูล (Boolean Search) การค้นหาแบบระบุคุณสมบัติ เช่น anchor: near: applet: host: image: link: text: title: url: domain: สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
7
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ความสำคัญของ Keyword หมายถึง คำ หรือ ข้อความ ที่ต้องการให้ Search Engine ค้นหา นอกจาก Keyword แล้ว อาจจะต้องส่งสัญลักษณ์ หรือคำสั่งอื่น เพื่อให้ Search Engine ทำงานตรงตามความต้องการ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
8
ตัวอย่างวิธีการสืบค้นข้อมูลทั่วไป (1)
ค้นหาโดยใช้ คำ หรือ วลี ทั่วไป เช่น มหาวิทยาลัย บูรพา ผลที่ได้จากการสืบค้น จะได้ เว็บเพจ ที่มีคำว่า มหาวิทยาลัย หรือ บูรพา สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
9
ตัวอย่างวิธีการสืบค้นข้อมูลทั่วไป (2)
การใช้เครื่องหมายคำพูด “….” เข้าช่วย เช่น “linux thai” ผลที่ได้จะได้ เว็บ เพจ ที่มีคำว่า linux และ thai ซึ่งอาจเป็น thailinux หรือ Thai Linux หรือ Linux Thai หรือ อื่นๆ ในทำนองนี้ก็ได้ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
10
ตัวอย่างวิธีการสืบค้นข้อมูลทั่วไป (3)
การค้นหาโดยการใช้เครื่องหมาย * ต่อท้าย Keyword เช่น Bang* ผลที่ได้จะได้ เว็บ เพจ ที่มีคำว่า Bang หรือ มี Bang เป็นส่วนประกอบของคำ เช่น Bang’s หรือ Bang! เป็นต้น สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
11
หลักการวิธีการของ Boolean Searching
สามารถพิจารณาได้ จากการพิจารณาผลของ and หรือ or หรือ and not อาจมีการใช้ operator อื่น เช่น near, w/s, w/p, w/# หรือ proximity search operator อื่นๆ อาจมีการใช้เครื่องหมาย ( )ในลักษณะของ parentheses “Nesting” สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
12
ตัวอย่างการใช้ Boolean Search (1)
ใช้เครื่องหมาย + แทน and และ - แทน not เช่น +buraphalinux -burapha ผลที่ได้จะได้เว็บเพจ ที่มีคำว่า buraphalinux แต่ไม่มีคำว่า burapha ทดสอบได้ที่ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
13
ตัวอย่างการใช้ Boolean Search (2)
ใช้เครื่องหมายวงเล็บ เข้าช่วย เช่น ("burapha university") and (bangsaen) ผลที่ได้จะได้เว็บเพจ ที่มีคำว่า “Burapha University” และ Bangsaen หรืออื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
14
การค้นหาโดยระบุคุณสมบัติ (1)
ระบุ anchor: anchor: burapha จะได้เว็บเพจ ที่มี burapha เป็น anchor ระบุ applet: applet:balls จะได้เว็บเพจ ที่มี Java Applet ชื่อ balls ทดสอบได้ที่ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
15
การค้นหาโดยระบุคุณสมบัติ (2)
ระบุ host: host: จะได้ directories index ของ host ที่ระบุ ระบุ link: link: จะได้เว็บเพจที่มี link ตามกำหนด ทดสอบได้ที่ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
16
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
เป็นเว็บไซท์ที่มีผู้นิยมมาก ทั่วโลก มีเครื่องแม่ข่ายกระจายไปทั่วโลก หลายภาษา เช่น มีโปรแกรมคอย update ฐานข้อมูลของตนเองโดยอัตโนมัติตลอดเวลา ทำ Basic/Simple Search ได้ดี สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
17
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
18
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
19
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
มีผู้นิยมใช้มาก ทั่วโลก มีบริการเว็บเสริมมากมาย มีการจัด Web Site Directories เรียงตาม Subjects ที่เหมาะสมต่อการใช้งาน มีเครื่องแม่ข่ายกระจายไปตามภูมิภาคทั่วโลก สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
20
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
21
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
22
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
มีชื่อเสียงในเรื่องความสามารถในการทำ Advanced Search ลักษณะต่างๆ โปรแกรม search engine ของ altavista ถูกนำไปใช้โดย เว็บไซท์ต่างๆ หลายแห่ง สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
23
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
24
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
25
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
เป็นเว็บเพจ ที่ใช้สำหรับการค้นหาเอกสาร บทความทางด้านคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ ข้อมูลบางส่วนเป็นบริการทั่วไปแบบสาธารณะ ข้อมูลในรายละเอียดมีไว้บริการเฉพาะสมาชิกเท่านั้น สมาชิกจะต้องเสียค่าบริการ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
26
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
27
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
28
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
Search Engine สำหรับภาษาไทย Search Engine อื่นๆที่มีคุณภาพสูง ยังไม่สามารถทำงานได้ดีกับภาษาไทย “สรรสาร” เป็นโปรแกรมสืบค้นข้อมูล ภาษาไทย พัฒนาโดย NECTEC สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
29
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
30
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
31
โครงสร้างของโปรแกรมสรรสาร
ส่วนจัดเตรียมข้อมูล (Data Preparation Servers) ส่วนจัดเก็บฐานข้อมูล (Database Servers) ส่วนค้นหาข้อมูล (Search Engine Servers) สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
32
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
33
ส่วนจัดเตรียมข้อมูล Data Preparation Servers
เป็นส่วนที่ทำหน้าที่นำข้อมูลเข้าระบบ โดยผู้บริหารระบบ ข้อมูลที่ถูกนำเข้าอยู่ในรูปแบบต่างๆ เช่น text, HTML, PDF, doc เป็นต้น มีการสร้าง index ซึ่งจะได้ index files เพื่อใช้ในการค้นหา สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
34
ส่วนจัดเก็บฐานข้อมูล Database Servers
ใช้ทำหน้าที่ในการเก็บ files ข้อมูล ใช้ทำหน้าที่ในการเก็บ index files ที่ระบบสร้างขึ้น สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
35
ส่วนค้นหาข้อมูล Search Engine Servers
รับ keyword และคำสั่งจากผู้ใช้ ทำหน้าที่ในการค้นหา จัดลำดับ เอกสารที่ค้นพบ ในฐานข้อมูล คืนสู่ผู้ใช้ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
36
การสืบค้นข้อมูลทางวิชาการจากอินเทอร์เน็ต
ระบุปัญหาให้ชัดเจน เลือกแหล่งข้อมูลที่จะค้นหา เลือกคำที่จะใช้ค้นหา ดำเนินการค้นหา พิมพ์เอกสารที่ค้นหา สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
37
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ระบุปัญหาให้ชัดเจน ผู้สืบค้นจะต้องกำหนดปัญหา ที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจนเสียก่อน พิจารณาว่าสิ่งที่เราต้องการศึกษานั้นคืออะไร ควรจะเป็นปัญหาเฉพาะ ไม่กว้างจนเกินไป พิจารณากำหนด Keywords ที่จะใช้ในการค้นหา ให้ครบถ้วนรอบคอบ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
38
เลือกแหล่งข้อมูลที่จะค้นหา
ในที่นี้หมายถึง เว็บไซท์ที่จะทำการสืบค้น พิจารณาเว็บไซท์ ที่เกี่ยวข้องกับ เนื้อหาข้อมูลที่ต้องการค้นหาที่สามารถเข้าถึงได้ก่อน ใช้เว็บไซท์ที่สามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้จำนวนมากกว่า พิจารณาความสามารถด้านภาษาของ Search Engine ด้วย สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
39
เลือกคำที่จะใช้ค้นหา
เลือกใช้ คำ หรือ คำพ้อง ทั้งนี้ต้องพิจารณา ความสามารถของ Search Engine ประกอบการเลือกคำด้วย พยายามใช้หลักตรรกวิทยา ในการกำหนดคำ วลี หรือ คำพ้อง ที่จะใช้เป็น Keywords สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
40
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ดำเนินการค้นหา ป้อน Keyword(s) และคำสั่ง ลงในช่องที่กำหนด แล้วสั่ง Search ในกรณีที่เว็บไซท์มี Directory Subjects บริการ ก็สามารถที่จะติดตาม link เหล่านั้น จนกว่าจะพบข้อมูลที่ต้องการ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
41
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
พิมพ์เอกสารที่ค้นหา เพื่อรวบรวมเว็บเพจ ที่ค้นหามาได้ ไว้อ้างอิงต่อไป สามารถทำได้ 2 แนวทางคือ พิมพ์เอกสารลงกระดาษ ทำการบันทึก วันเวลา และข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้ เก็บ file(s) ลง disk หรือ floopy disk พร้อมบันทึกข้อมูลวันเวลาและข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
42
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
แหล่งข้อมูลอ้างอิง สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
43
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ขอบคุณครับ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.