งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Development องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการพัฒนาชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Development องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการพัฒนาชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Development องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการพัฒนาชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์
080127 Introduction to psychology Development องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการพัฒนาชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์ โดย ผ.ศ.ลิขิต กาญจนาภรณ์

2 ขอบเขตการบรรยาย พันธุกรรมและการปฎิสนธิ พัฒนาการในครรภ์ พฤติกรรมของเด็ก
ทฤษฎีพัฒนาการ - ทฤษฎีของฟรอยด์ - ทฤษฎีของเพียเจท์ - ทฤษฎีของโคลห์เบอร์ก - ทฤษฎีของอีริคสัน สรุปประเด็นหลัก

3 ความสำคัญของความเจริญเติบโตและพัฒนาการของชีวิตต่อพฤติกรรมมนุษย์
จิตวิทยาที่เกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างบุคคล มนุษย์แตกต่างกันในด้านใด ความผิดปกติของพฤติกรรมอันเนื่องมาจากพันธุกรรม ความผิดปกติของพฤติกรรมอันเนื่องมาจากพัฒนาการและความเจริญเติบโต 4. พฤติกรรมประจำวัย คนวัยต่างกันมีพฤติกรรมแตกต่างกันอย่างไร

4 ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความเจริญเติบโตและพัฒนาการของชีวิตต่อพฤติกรรมมนุษย์
ตัวแปรด้านพันธุกรรม ตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อม - สิ่งแวดล้อมภายในครรภ์ (อาหาร ยา การติดเชื้อ สุขภาพ ของแม่ สุขภาพจิตของแม่) - สิ่งแวดล้อมขณะคลอด (ความผิดปกติของการคลอด) - สิ่งแวดล้อมหลังคลอด (อาหาร ยา การติดเชื้อ อุบัติเหตุ) - การกระตุ้นส่งเสริมการเลี้ยงดูที่บ้านและสถานศึกษา

5 พันธุกรรม บทบาทของ genes

6 บทบาทของ chromosomes chromosomes

7 กระบวนการถ่ายทอดทางพันธุกรรม : ลักษณะต่างๆของร่างกายที่ถ่ายทอด
ระบบประสาท สมอง โครงสร้างของร่างกาย สีผิว สีผม สีตา รูปร่าง เพศ คุณลักษณะทางจิตวิทยา เชาว์ปัญญา โรคที่เกี่ยวกับพันธุกรรม

8 การปฎิสนธิ

9 การปฎิสนธิ

10 การปฎิสนธิ

11 การปฎิสนธิ

12 การพัฒนาในครรภ์

13 การพัฒนาในครรภ์

14 การพัฒนาในครรภ์

15 การพัฒนาในครรภ์

16 การพัฒนาในครรภ์

17 ความเจริญเติบโตตามวัย

18 ความผิดปกติของพันธุกรรมและพัฒนาการ
ที่ส่งผลกระทบต่อลักษณะทางจิตวิทยา ความผิดปกติของร่างกาย อวัยวะ ตา หู เชาว์ปัญญา เช่น Down’s Syndrome ความผิดปกติทางจิต เช่น เด็กออทิสซึม (Autism/Autistic child)

19 พันธุกรรม เชื้อโรค ยา+สารเคมี
ความผิดปกติของ chromosomes คู่ที่ 21 (trisomy) ทำให้เกิด Down Syndrome โรคทางพันธุกรรมที่ผ่านโครโมโซมเพศ เชื้อโรค Rubella หัดเยอรมัน ทำให้หูหนวก ซิฟิลิส ทำลายสมอง พัฒนาการของใบหน้า อวัยวะในปาก ยา+สารเคมี ยาป้องกันมาลาเรีย ยาแก้แพ้ท้อง สุรา – Fetal Alcohol Syndrome (FAS)

20 อาหาร สุขภาพจิต ยา+สารเคมี การขาดสารอาหาร ขณะตั้งครรภ์
แม่เครียด ลูกในท้องเครียดด้วย เด็กในท้องมีอาการทางปราสาท ยา+สารเคมี สมองได้รับการกระทบกระเทือน มีอาการ Cerebral Palsy หรือ CP สมาธิสั้น Attention deficit and hyperactive disorder = ADHD

21 Harlow พฤติกรรมวัยเด็ก - เด็กต้องการความรักความอบอุ่น จากพ่อแม่

22 * เด็กอยากรู้ อยากเห็น
* ต้องการสำรวจ - ถาม - ลองทำด้วยตนเอง - ต้องการคำตอบ - ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

23 ส่งเสริม ให้ปัญญาพัฒนาสมอง 2 ซีก ให้ความรักความอบอุ่น
ให้มีวินัยในตนเอง ให้มีสังคม ให้มีร่างกายแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันโรค

24 ฟรอยด์ Psychosexual ฟรอยด์ Psychosexual
1. เน้นความพึงพอใจ (Sexual pleasure) ที่ร่างกายตามวัย 2. วัยเด็กความพอใจอยู่ที่ปาก โตขึ้นการขับถ่าย โตขึ้นอีกสนใจเพศของตนเอง วัยรุ่นสนใจต่างเพศ ฟรอยด์ Psychosexual

25

26

27 Psychosexual ความหมาย (Sexual pleasure) มี 2 นัย
ความพึงพอใจที่สัมพันธ์กับบริเวณของร่างกาย การปรับตัวเข้ากับเพศของตัวเอง (ยอมรับหรือไม่ยอมรับ)

28 ความหมาย Complex ความพึงพอใจถูกขัดขวาง ไม่ได้รับการตอบสนอง
ทำให้เกิดปัญหาทางจิต

29 มีปมอะไรบ้าง Oral Complex Anal Complex Oedipus Complex Electra Complex
Castration Complex

30 ฟรอยด์ เน้น ! ความสัมพันธ์ ของเด็กกับแม่และพ่อ ความรัก ความอบอุ่น
ฟรอยด์ เน้น ! ความสัมพันธ์ ของเด็กกับแม่และพ่อ ความรัก ความอบอุ่น ถ่ายทอดทางสัมผัสและอาหาร ความใกล้ชิด การตอบสนอง ความต้องการตามวัย

31 เพียเจท์ เพียเจท์ เน้นความฉลาด ปัญญาดี จะฉลาด ปัญญาดี ต้องมี
ปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อม เพียเจท์

32 แนวคิดเรื่อง ! Assimilation การดูดซึม Schema กระบวนการคิดและ การกระทำ
Equilibration Accommodation จะเลี้ยงลูกให้ฉลาดได้อย่างไร

33 โคห์ล เบอร์ก การรับรู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว เป็นไปตามวัย วัยเด็ก
การรับรู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว เป็นไปตามวัย วัยเด็ก - ดี ชั่ว อยู่ที่เจ็บ หรือ ไม่เจ็บ โตขึ้น - รางวัล หรือ ไม่ได้ รางวัล - ดี ชั่ว เป็นสิ่งที่ดี รู้ได้ด้วยตัวเอง

34 อีริคสัน Psychosocial เน้นปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ถ้าปฏิสัมพันธ์ ไม่ดี ส่งผลต่อการปรับตัว สุขภาพจิต แบ่งคนออกเป็น 8 วัย

35 อีริคสัน Psychosocial
แบ่งคนออกเป็น 8 วัย 1-2 ขวบ ไว้ใจ หรือไม่ไว้ใจ 2-3 ขวบ เป็นอิสระหรือละอายสงสัย 4-5 ขวบ คิดริเริ่ม หรือรู้จักผิด 6-11 ขวบ ขยัน หรือมีปมด้อย 11-18 ปี เข้าใจบทบาทของตัวเอง หรือ สับสน ในบทบาทของตัวเอง 20-35 ปี ผูกพัน หรือตีตัวออกห่าง 36-45 ปี ให้กำเนิด หรือหมกมุ่นในตัวเอง 45 ขึ้นไป มีศักดิ์ศรี หรือหมดหวัง

36 1-2 ขวบ ไว้ใจ หรือไม่ไว้ใจ

37 2-3 ขวบ เป็นอิสระหรือละอายสงสัย

38 4-5 ขวบ คิดริเริ่ม หรือรู้จักผิด

39 6-11 ขวบ ขยัน หรือมีปมด้อย

40 11-18 ปี เข้าใจบทบาทของตัวเอง หรือ สับสนในบทบาทของตัวเอง

41 20-35 ปี ผูกพัน หรือตีตัวออกห่าง

42 36-45 ปี ให้กำเนิด หรือหมกมุ่นในตัวเอง

43 45 ขึ้นไป มีศักดิ์ศรี หรือหมดหวัง


ดาวน์โหลด ppt Development องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการพัฒนาชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google