งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)
หน่วยประปา งานซ่อมบำรุง ฝ่ายวิศวกรรมบริการและอาคารสถานที่

2 เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี(Anionic Polymer)
เจ้าของนวัตกรรม :นายบุญเชิด แดงมณี รายชื่อสมาชิก : นายบุญเชิด แดงมณี ช่างผลิตน้ำประปา

3 เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี(Anionic Polymer)
ที่มาของโครงการ : โรงผลิตน้ำประปา โรงพยาบาลศิริราช ได้ทำการก่อตั้งมาเมื่อปี พ.ศ ในบริเวณของพื้นที่ 77 ไร่ กำลังผลิตน้ำประปา เฉลี่ยวันละ ลบ.ม. กระบวนการผลิตน้ำประปานี้เป็นระบบกรองเร็ว(Rapid Sand Filter) วัตถุประสงค์เพื่อนำมาใช้ในการอุปโภคภายในโรงพยาบาลศิริราช ลดต้นทุนในการซื้อน้ำประปาจากการประปานครหลวงเฉลี่ยปีละ 20,000,000 บาท หรือโรงพยาบาลทำการผลิตเอง 3 ใน 4 ส่วน เนื่องจากแหล่งน้ำดิบแม่น้ำเจ้าพระยามีความแปรปรวนอยู่เสมอ ทั้งค่าความขุ่น, ค่า pH, ค่าคลอไรด์, ค่า TDS และอุณหภูมิของน้ำอันสิ่งนี้จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ และหาวิธีการแก้ปัญหาที่เป็นอุปสรรคในกระบวนการผลิตอย่างถูกวิธี จึงเป็นที่มาของการใช้สารเคมี Anionic Polymer (ลบ) วัตถุประสงค์โครงการ : . เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตกตะกอนของน้ำดิบ ไม่น้อยกว่า 65 % . เพื่อให้เกิดการตกตะกอนผลึก (Precipitation) . เพื่อการฆ่าเชื้อโรค ( Disinfection ) อย่างมีประสิทธิภาพ . เพื่อยืดอายุการใช้งานในระบบสารกรองและอุปกรณ์ต่าง ๆ

4 เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี(Anionic Polymer)
ขั้นตอนการดำเนินงาน : Flow chart ตัวอย่างการเปรียบเทียบการใช้สารเคมี AL2( SO4 )3 + Na2CO and AL2( SO4 )3 +Na2CO3 +Anionic Polymer Anionic Polymer Post Chlorine ถังกรอง 1 Pre Chlorine บ่อน้ำดิบ แม่น้ำ เจ้าพระยา (Al2(SO4) .18H2 O ) ถังตกตะกอน Flock 1 2 ถังกรอง 2 (Na2CO3) จุดจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer) คุณภาพน้ำก่อนสู่กระบวนการกรอง บ่อพักน้ำสนามเทนนิส อาคาร งบประมาณที่ใช้ : ไม่มีค่าใช้จ่ายในการทดลอง และการติดตั้งเครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (นำวัสดุและอุปกรณ์ที่มีอยู่มาซ่อมใช้งาน )

5 เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี(Anionic Polymer)
ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการและผลลัพธ์ : ตัวชี้วัด (KPI) เป้าหมาย (Target) ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ (มากกว่าหรือเท่ากับ 3 รอบการวัดผล) ก่อนดำเนินการ หลังดำเนินการ ครั้งที่ 1 28 / 08 / 2551 ครั้งที่ 2 3 / 09 / 2551 ครั้งที่ 3 7 / 09 / 2551. 1.ระยะเวลาในตกตะกอน สารแขวนลอย 15 นาที 6 ชม. 25 นาที 20 นาที 15 นาที 2.ตามเกณฑ์ค่ามาตรฐาน ขององค์การอนามัย โลก (ไม่เกิน 5 NTU) NTU 2 – 5 NTU NTU 0.63 NTU 0.54 NTU 3.ลดต้นทุนหรือการ สิ้นเปลืองการ ใช้สารเคมีอย่างถูกวิธี ไม่น้อยกว่า 65 % 0 % 50 % 65 % 75 % 4.ยืดอายุการใช้งานของ สารกรอง ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี มากกว่า 5 ปี ข้อเสนอแนะสำหรับการนำไปใช้งาน/ขยายผล : 1.ได้นำมาพัฒนาคุณภาพน้ำประปาให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อใช้ภายในหน่วยงาน 2.ได้นำความรู้เผยแพร่ภายนอกทาง Internet(ถาม-ตอบข้อมูลการนำไปปฏิบัติใช้) 3. เป็นองค์ความรู้ใหม่เพื่อให้มีการพัฒนาบุคคลากรมีศักยภาพมากขึ้น

6 การคำนวณต้นทุน : เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี(Anionic Polymer)
(เฉพาะกรณีที่เสนอ นวัตกรรมดีเด่นด้านการบริหารทรัพยากร ทุกประเภท) รายการ จำนวน ราคา กก./บาท สารส้ม + สารเร่งการตกตะกอน 10 กก / ถัง 100 กก./ น้ำ ลิตร 200 กก / เดือน บาท / กก. บาท / กก. โซดาแอช - ไลท์ 40 กก. / น้ำ ลิตร บาท / กก. Anionic Polymer กรัม / น้ำ ลิตร ( กก. / เดือน ) บาท / กก. ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจสูงสุด จุดจ่ายน้ำยา (Anionic Polymer) เครื่องจ่ายน้ำยาเคมีAnionic Polymer ความคุ้มทุนและมีคุณภาพ

7 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google