ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSarai Saenamuang ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
แนวคิดใหม่ ๆ ในการทำให้ รถจักรยานยนต์ปลอดอุบัติเหตุ
กรมการขนส่งทางบก
2
สถิติรถจักรยานยนต์จดทะเบียน และอุบัติเหตุ รถจักรยานยนต์ พ. ศ
สถิติรถจักรยานยนต์จดทะเบียน และอุบัติเหตุ รถจักรยานยนต์ พ.ศ รายการ 2544 2545 2546 2547 2548 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนทั่วประเทศ (คัน) (ที่มา : กรมการขนส่งทางบก) 15,236,081 16,581,174 18,210,454 13,206,580 15,501,035 จำนวนรถจักรยานยนต์ที่เกิดอุบัติเหตุ (คัน) (ที่มา : สำนักงานตำรวจแห่งชาติ) 41,215 53,732 66,110 77,642 78,830 จะสังเกตเห็นว่าในปี 2547 จำนวนรถจยย. ที่จดทะเบียนรวมทั่วประเทศลดลงเนื่องจาก ขบ.ทำการ ทบทวนการจดทะเบียนรถทั้งหมดใหม่ โดยให้รถที่ขาดการต่ออายุทะเบียนมาดำเนินการขอต่ออายุถ้าขาดอายุเกิน 3 ปีแต่มาในกำหนดเวลาจะเสียภาษีที่ค้างเพียงแค่ 3 ปี แต่ถ้าไม่มาติดต่อในเวลาที่กำหนดก็จะยกเลิกการจดทะเบียน
3
อัตราการเสียชีวิตและบาดเจ็บ จากอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ พ.ศ. 2545
แหล่งที่มา : จาก 21 โรงพยาบาลเครือข่ายเฝ้าระวังการบาดเจ็บของกระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้บาดเจ็บ ,723 คน คิดเป็นร้อยละ 81 เป็นข้อมูลของ สธ.แสดงให้เห็นตัวเลขที่เก็บข้อมูลเพียง แค่ 21 รพ. จำนวนผู้เสียชีวิต ,517 คน คิดเป็นร้อยละ เช่นกัน
4
สถิติอัตราการเกิดอุบัติเหตุของรถแต่ละประเภท ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ. ศ
สถิติอัตราการเกิดอุบัติเหตุของรถแต่ละประเภท ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ ประเภทรถ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 รถจักรยานยนต์ 84.23 84.72 รถปิคอัพ 7.89 7.75 รถยนต์เก๋ง 2.27 2.12 รถบรรทุก 6 ล้อขึ้นไป 0.84 0.82 อื่น ๆ 4.77 4.59 เป็นตัวเลขทั่วประเทศในช่วงสงกรานต์ 2548และ 2549 จะเห็นว่าตัวเลขก็สอดคล้องกับเมื่อสักครู่ ที่มา : กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5
แนวทางการดำเนินงานในปัจจุบัน ของกรมการขนส่งทางบก
6
1. ออกกฎหมายให้มีการรับรองโรงเรียนสอนขับรถเอกชน
1. ออกกฎหมายให้มีการรับรองโรงเรียนสอนขับรถเอกชน ในอนาคต ผู้ขอรับใบอนุญาตขับรถทุกประเภทต้องผ่านการเรียนการสอน และการทดสอบขับรถจากโรงเรียนสอนขับรถเอกชน หลักสูตรการขับรถยนต์และรถจยย. ไม่น้อยกว่า 15 ชม. ประกอบด้วยทฤษฏีไม่น้อยกว่า 5 ชม. ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 10 ชม. มีสนามฝึกตามมาตรฐานที่ ขบ.กำหนด ครูฝึกที่ได้ใบอนุญาต ค่าเล่าเรียนขั้นต่ำ รถยนต์ 2000 บ. จยย. 500 บ.รถขนส่ง 4000 บ.มีใบขับขี่รถยนต์แล้ว 2500 บ.
7
2. ออกกฎหมายกำหนดให้รถจักรยานยนต์เปิดไฟหน้า
2. ออกกฎหมายกำหนดให้รถจักรยานยนต์เปิดไฟหน้า อัตโนมัติ เมื่อสตาร์ทเครื่องยนต์ กฎกระทรวงฉบับที่ 41 (พ.ศ. 2547) ออกตามความใน พ.ร.บ. รถยนต์ พ.ศ. 2522 กำหนดให้รถจักรยานยนต์ที่นำมาจดทะเบียนต้องมีระบบสตาร์ทพร้อมสวิทที่เมื่อเครื่องกำเนิดพลังงานทำงาน โคมไฟแสงพุ่งไกลหรือโคมไฟแสงพุ่งต่ำต้องให้แสงสว่างพร้อมกัน เริ่มแรกโครงการเปิดไฟหน้าจยย.เป็นรณรงค์ขอความร่วมมือ แต่การออกกฎกระทรวงดังกล่าวเป็นการกำหนดให้ดำเนินการมาตั้งแต่โรงงานผลิต รถจยย. มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 เป็นต้นไป
8
ผลการศึกษารถจักรยานยนต์เปิดไฟหน้าเพื่อลดอุบัติเหตุ ในต่างประเทศ
สวีเดน อุบัติเหตุลดลง 10% ฟินแลนด์ อุบัติเหตุลดลง 28% มาเลเซีย อุบัติเหตุลดลง 29% เป็นผลการศึกษาของต่างประเทศ ญี่ปุ่น อุบัติเหตุลดลง 40%
9
3. จัดระเบียบรถจักรยานยนต์รับจ้าง
3. จัดระเบียบรถจักรยานยนต์รับจ้าง 3.1 คุณสมบัติของผู้ขับรถจักรยานยนต์สาธารณะ 3.2 ลักษณะของรถจักรยานยนต์สาธารณะ จัดให้มีหมวกให้คนโดยสารและรักษาความสะอาดไว้เสมอ ให้คนโดยสารนั่งให้เรียบร้อยก่อนออกรถ ไม่บรรทุกสิ่งของอื่นไปกับคนโดยสาร ไม่ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ รถต้องมีที่พักเท้า ฝาครอบโซ่ ราวยึดเหนี่ยว แผ่นป้องกันความร้อนท่อไอเสีย ต้องผ่านการอบรม 3 ชม.
10
การรณรงค์รถจักรยานยนต์ขับขี่ปลอดภัย เปิดไฟ ใส่หมวก
การรณรงค์เปิดไฟใส่หมวกขบเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งต้องยกเครดิตให้ท่าน นิกร จำนง ซึ่งเป็นรชค.ในสมัยนั้น ที่นำเอาแนวคิดนี้มารณรงค์อย่างจริงจัง จนแพร่ถึงบัดนี้ กรมการขนส่งทางบกเริ่มรณรงค์ฯ ตั้งแต่ปี2545 ต่อมา กระทรวงมหาดไทยได้กำหนดให้ทุกจังหวัดดำเนินการพร้อมกันทั่วประเทศในปี 2547
11
5. โครงการสนามจราจรเยาวชนเสริมสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย
5. โครงการสนามจราจรเยาวชนเสริมสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย เป็นการให้ความรู้พื้นฐานเพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้เยาวชน ในระดับ ป4 – 6 ดำเนินการเรื่อยมายาวนานเท่าที่จะมีงบประมาณแต่ ในปี 2549 ดำเนินการให้ครบ 190 สำนักงาน อบรมนักเรียนให้ได้ คน ดีเดย์ 1 กค.2549
12
6. โครงการลดอุบัติเหตุทางถนนจากการขับขี่ รถจักรยานยนต์อย่างไม่รู้กฎ
6. โครงการลดอุบัติเหตุทางถนนจากการขับขี่ รถจักรยานยนต์อย่างไม่รู้กฎ เป็นกิจกรรมเสริมที่ให้เจ้าหน้าที่ออกไปรณรงค์อบรมให้ความรู้การขับขี่จยย.ที่ถูกต้องปลอดภัยกับปชช. โดยสนับสนุนค่าใช้จ่ายจากกองทุนฯ
13
แนวคิดในการพัฒนาความปลอดภัย
ของรถจักรยานยนต์ โครงการจัดตั้งระบบการรับรองแบบรถ (Motor Vehicle Type Approval) กำหนดให้รถจักรยานยนต์มีอุปกรณ์ป้องกัน เพื่อเพิ่มความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บ เช่น Leg Guard, กำหนดให้หมวกนิรภัยเป็นอุปกรณ์ส่วนควบที่สำคัญอย่างหนึ่งของรถจักรยานยนต์
14
พัฒนาการให้บริการระบบขนส่งมวลชนให้ทั่วถึง และเพียงพอมากยิ่งขึ้น
แนวคิดในการพัฒนาความปลอดภัยของรถจักรยานยนต์ (ต่อ) สนับสนุนให้มีการศึกษาความจำเป็นเกี่ยวกับการจัดให้มีช่องทางรถจักรยานยนต์โดยเฉพาะ พัฒนาการให้บริการระบบขนส่งมวลชนให้ทั่วถึง และเพียงพอมากยิ่งขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.