ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
พิมพ์ชื่อผลงาน พิมพ์ประเภทของผลงานซึ่งมี 4 ประเภท ดูได้จากเอกสารแนะนำในการส่งผลงานฯ พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน พิมพ์ชื่อผู้เสนอผลงาน พิมพ์ที่อยู่ เบอร์โทร และ ในการติดต่อ
2
พิมพ์ชื่อทีมที่นี่และระบุรายชื่อสมาชิก และตำแหน่งงานไว้ด้านล่าง
คุณ (ตำแหน่งงาน) (กรณีที่เป็นผลงานดำเนินการคนเดียวไม่ต้องใช้สไลค์แผ่นนี้)
3
การวิเคราะห์ปัญหา แสดงวิธีการวิเคราะห์ปัญหา เครื่องมือทางด้านการยศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา ตามหลักการด้านการยศาสตร์ แสดงข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวกับปัญหาทางด้านการยศาสตร์ ควรแสดงรูปหรือวีดีโอประกอบการอธิบายจะช่วยให้การนำเสนอปัญหาเห็นภาพได้ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการประเมินข้อหนึ่ง
4
รายละเอียดของงาน ก่อนการปรับปรุง
ให้อธิบายของงานทั้งลักษณะเครื่องมือ เครื่องจักร ให้ชัดเจน ระบุตัวเลขต่างๆ ของข้อมูลถ้ามี ให้อธิบายถึงลักษณะ วิธีการใช้งานและวิธีการทำงานที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน ควรแสดงรูปหรือวีดีโอประกอบการอธิบายจะช่วยให้การนำเสนอปัญหาเห็นภาพได้ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการประเมินข้อหนึ่ง
5
รายละเอียดของงาน หลักการปรับปรุง
ให้เปรียบเทียบกับข้อมูลก่อนการปรับปรุง ให้อธิบายของงานทั้งลักษณะเครื่องมือ เครื่องจักร ให้ชัดเจน ระบุตัวเลขต่างๆ ของข้อมูลถ้ามี ให้อธิบายถึงลักษณะ วิธีการใช้งานและวิธีการทำงานที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน ควรแสดงรูปหรือวีดีโอประกอบการอธิบายจะช่วยให้การนำเสนอปัญหาเห็นภาพได้ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการประเมินข้อหนึ่ง
6
การแก้ไขปัญหา ให้อธิบายวิธีการที่นำไปใช้ในการแก้ปัญหาอย่างละเอียด
ควรใช้รูปหรือวิดีโอมาช่วยประกอบการอธิบายเพื่อให้การนำเสนอชัดเจน มากขึ้นซึ่งเป็นหนึ่งเกณฑ์ของการประเมิน การแก้ปัญหาอาจทำได้ทั้งในลักษณะการจัดการ เช่น เปลี่ยนวิธีการทำงานใหม่ หรือ ใช้หลักการวิศวกรร ในการประดิษฐ์เครื่องไม้เครื่องมือมาช่วยในการทำงาน หรือ เป็นการปรับเครื่องมือเครื่องจักรที่มีอยู่เดิมให้ใช้งานได้ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์ ควรจะมีวิธีการในการวัด รวบรวม และประเมินปัญหาต่างๆ ได้เป็นระดับคะแนนหรือตัวเลขที่ใช้ในการเปรียบเทียบให้เห็นว่าปัญหาดังกล่าวมีระดับลดลงหลังการปรับปรุง
7
ผลลัพธ์ที่ได้จากการแก้ปัญหา
ให้อธิบายผลลัพธ์ที่ไดจากการแก้ปัญหา ผลลัพธ์ที่ได้ควรมีการระบุค่าที่วัดเป็นตัวเลขได้ชัดเจน เช่นวัดเป็นคะแนนจำนวนเงิน เวลา ปริมาณ เป็นต้น ตัวอย่างผลลัพธ์จากการควรจะประกอบด้วย จำนวนการบาดเจ็บ หรือความเมื่อยล้าที่ลดลง ความพึงพอใจของพนักงานที่สูงขึ้น จำนวนค่ารักษาพยาบาล จำนวนวันขาดงานเนื่องจากบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยลดลง เป็นต้น ระดับของความเสี่ยงต่างๆ ลดลง จำนวนความผิดพลาดในการทำงานที่ลดลง คุณภาพของงานดีขึ้น ความสะดวกสบายในการทำงาน เวลาในการทำงานเร็วขึ้น เนื่องจากลดระยะการเคลื่อนไหว ทำให้คล่องตัว ผลผลิตมากขึ้นเนื่องจากเปลี่ยนวิธีการทำงาน มีเครื่องมือมาช่วย เป็นต้น
8
ข้อส่งสัยในการเตีรยมเอกสาร
หากท่านมีข้อสงสัยใดในการจัดเตรียมการเสนอผลงานสามารถสอบถามได้ที่ สมาคมการยศาสตร์ไทย
9
ตัวอย่างของการดำเนินงาน เพื่อส่งผลงานประเภททีม
10
ชื่อโครงการหรือกิจกรรม :_____________________________________________________
ชื่อหัวหน้าทีม :___________________________ตำแหน่งงาน__________________ รายชื่อสมาชิกของทีมงานที่อยู่ในสถานีงานหรือเป็นผู้ปฏิบัติงานนั้น: ______________________________ ตำแหน่งงาน__________________ ______________________________ ตำแหน่งงาน___________________ รายชื่อสมาชิกของทีมงานที่มาจากทีมงานด้านการยศาสตร์ : วันที่เสร็จ :__________________________________________________ หมายเหตุ:__________________________________________________
11
บันทึกการปรับปรุงงานด้วยวิธีการไคเซ็น
ก่อนทำการปรับปรุง หลังทำการปรับปรุง พื้นที่ปฏิบัติงาน: รายละเอียดของปัญหา: สื่งที่ได้ดำเนินการ: ผลลัพธ์จากการดำเนินการ: ป้อนรายละเอียด บริเวณนี้ ป้อนรายละเอียด บริเวณนี้ ป้อนรายละเอียด บริเวณนี้ ป้อนรายละเอียด บริเวณนี้ วางภาพ หรืออธิบายรายละเอียด ก่อนทำการปรับปรุงบริเวณนี้ วางภาพ หรืออธิบายรายละเอียด หลังทำการปรับปรุงบริเวณนี้
12
ขั้นตอนในการดำเนินงาน
ตัวอย่างคำถามเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน ถาม อะไรคือปัญหาที่ต้องการจะทำการปรับปรุงหรือแก้ไข? ตอบ ถาม มีการวัดปัญหาทางด้านการยศาสตร์ด้วยข้อมูลทางสถิติ หรือเครื่องมือในการประเมินความเสี่ยงอย่างไร? ถาม ผลกระทบของปัญหาที่มีต่อสุขภาพของพนักงานเป็นอย่างไร ถาม ผลกระทบของปัญหาที่มีต่อคุณภาพในการทำงานเป็นอย่างไร ถาม ผลกระทบของปัญหาที่มีต่อประสิทธิภาพในการทำงานเป็นอย่างไร ถาม มีปัจจัยอะไรบ้างที่ส่งผลต่อปัญหาทางด้านการยศาสตร์มีอะไรบ้าง ถาม ปัจจัยใดที่เป็นปัจจัยหลักของปัญหาที่ต้องการจะแก้ไข? ถาม ได้ดำเนินการอะไรเพื่อปรับปรุงหรือแก้ไขปัจจัยหลักของปัญหา? ถาม สภาพหรือสถานะหลังการปรับปรุงในเชิงสถิติหรือตัวเลขเป็นอย่างไร? ถาม ผลลัพธ์ที่ได้จากการแก้ปัญหามีอะไรบ้าง ? ถาม ได้ดำเนินการอะไรเพื่อไม่ให้ปัญหาเกิดซ้ำอีกในอนาคต? หมายเหตุ ให้พิจารณาข้อมูลต่างๆ ที่เป็นตัวเลขไว้ในเอกสารหน้าถัดไป Define การนิยามปัญหา Measurement การวัดสถานะปัจจุบัน Analyze การวิเคราะห์ปัญหา Improve การปรับปรุงปัญหา Control การควบคุมปัญหา
13
หมายเหตุ : สำหรับตัวชี้วัดใดที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากการปรับปรุงกรุณาใส่ N/A หรือ ไม่ได้ทำการพิจารณา
: สามารถปรับแต่งหรือเพิ่มเติมตัวชี้วัดได้ตามความเหมาะสมของกิจกรรมที่ได้ดำเนินการปรับปรุง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.