ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPathma Patalung ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ ของบุคคลหรือกิจการอย่างน้อยสองราย โดยมีการควบคุมร่วมกันตามที่ตกลงไว้ ในสัญญา
2
รูปแบบของการร่วมค้า การควบคุมร่วมในการดำเนินงาน
(Jointly Controlled Operations) การควบคุมร่วมในสินทรัพย์ (Jointly Controlled Assets) การควบคุมร่วมในกิจการ (Jointly Controlled Entities)
3
การควบคุมร่วมในการดำเนินงาน (Jointly Controlled Operations)
ไม่มีการจัดตั้งเป็นบริษัท ลักษณะ การดำเนินงาน ไม่มีการแยกโครงสร้างการเงินจากผู้ร่วมค้า ผู้ร่วมค้าจะใช้ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของตนเอง
4
การควบคุมร่วมในการดำเนินงาน (Jointly Controlled Operations)
ลักษณะ การดำเนินงาน (ต่อ) - ผู้ร่วมค้าต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย และหนี้สินของตนเอง - มีการกำหนดการจัดสรรผลตอบแทนและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นร่วมกันไว้ในสัญญา - ไม่ต้องจัดทำงบการเงินของกิจการร่วมค้า
5
รายงานทางการเงิน เกี่ยวกับส่วนได้เสีย
การควบคุมร่วมในการดำเนินงาน (Jointly Controlled Operations) รายงานทางการเงิน เกี่ยวกับส่วนได้เสีย สินทรัพย์ที่ผู้ร่วมค้าควบคุมและ หนี้สินที่ผู้ร่วมค้านั้นเป็นผู้ก่อขึ้น ค่าใช้จ่ายที่ผู้ร่วมค้าก่อให้เกิดขึ้นและส่วนแบ่งของรายได้จากการขายสินค้าหรือให้บริการที่ผู้ร่วมค้าควรได้รับ
6
การควบคุมร่วมในสินทรัพย์ (Jointly Controlled Assets)
ลักษณะการดำเนินงาน ไม่มีการจัดตั้งเป็นบริษัท ไม่มีการแยกโครงสร้างการเงินจากผู้ร่วมค้า ผู้ร่วมค้าเป็นเจ้าของสินทรัพย์ในการร่วมค้าร่วมกัน ผู้ร่วมค้าได้รับส่วนแบ่งจากผลิตผลที่เกิดจากสินทรัพย์ ผู้ร่วมค้าต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตามสัดส่วนที่กำหนดไว้ ไม่ต้องจัดทำงบการเงินของกิจการร่วมค้า
7
รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสีย
การควบคุมร่วมในสินทรัพย์ (Jointly Controlled Assets) รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสีย 1. สินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกันเฉพาะส่วนที่เป็นของตน 2. หนี้สินและค่าใช้จ่ายของผู้ร่วมค้าที่เกิดจากการจัดหาเงินทุน เพื่อซื้อสินทรัพย์ (เฉพาะส่วนที่ผู้ร่วมค้าควบคุม) 3. หนี้สินที่เกิดขึ้นร่วมกันจากการร่วมค้าเฉพาะส่วนที่เป็นของผู้ร่วมค้า 4. รายได้และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการร่วมค้าเฉพาะส่วนที่เป็นของผู้ร่วมค้า
8
การควบคุมร่วมในกิจการ (Jointly Controlled Entities)
ลักษณะ การดำเนินงาน - มีการจัดตั้งเป็นบริษัท - เป็นกิจการร่วมค้าที่มีสินทรัพย์อยู่ในการควบคุมของกิจการ - ผู้ร่วมค้าทุกรายมีอำนาจควบคุมกิจการร่วมค้าร่วมกัน - ผู้ร่วมค้าทุกรายมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งจากผลการดำเนินงาน - ต้องมีการจดบันทึกรายการค้า และจัดทำงบการเงินของกิจการร่วมค้า
9
การควบคุมร่วมในกิจการ (Jointly Controlled Entities)
รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสีย บันทึกบัญชีและจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชี เรื่อง “รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า”
10
“รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า”
การควบคุมร่วมในกิจการ (Jointly Controlled Entities) “รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า” งบการเงินตามสัดส่วน - รวมแต่ละบรรทัด - แยกแต่ละบรรทัด งบการเงินเฉพาะกิจการของผู้ร่วมค้า
11
วิธีการปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับกิจการร่วมค้า
กรณีที่ไม่ได้แยกการบันทึกบัญชีของการร่วมค้าเป็นอีกชุดหนึ่ง กรณีที่แยกการบันทึกบัญชีของการร่วมค้าเป็นอีกชุดหนึ่ง
12
บัญชีที่กิจการต้องเปิดขึ้นใหม่
กรณีที่ไม่ได้แยกการบันทึกบัญชีของการร่วมค้าเป็นอีกชุดหนึ่ง บัญชีที่กิจการต้องเปิดขึ้นใหม่ บัญชีร่วมค้า มีลักษณะเป็นบัญชีกำไรขาดทุนจากการร่วมค้า โดยใช้บันทึกรายการเกี่ยวกับต้นทุนขาย ค่าใช้จ่าย และรายได้ บัญชีผู้ร่วมค้า แยกเป็นผู้ร่วมค้าแต่ละราย ใช้บันทึกส่วนได้เสียของผู้ร่วมค้า
13
กรณีที่แยกการบันทึกบัญชีของการร่วมค้าเป็นอีกชุดหนึ่ง
- ผู้ร่วมค้าที่ทำหน้าที่เป็น “ผู้ดำเนินการร่วมค้า” จะเป็นผู้บันทึกรายการทั้งหมดที่เกี่ยวกับการร่วมค้าในสมุดบัญชีของกิจการร่วมค้า - ผู้ร่วมค้าแต่ละฝ่าย จะบันทึกรายการค้าเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับตนในสมุดบัญชีของตนเอง
14
บัญชีที่กิจการต้องเปิดขึ้นใหม่
กรณีที่แยกการบันทึกบัญชีของการร่วมค้าเป็นอีกชุดหนึ่ง บัญชีที่กิจการต้องเปิดขึ้นใหม่ 1. บัญชีที่เกี่ยวกับการร่วมค้า (ในสมุดบัญชีกิจการร่วมค้า) 2. บัญชีเงินลงทุนในกิจการร่วมค้าหรือบัญชีร่วมค้า (ในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้า)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.