งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต

2 E-R Model Entity-Relationship Model ใช้ในการออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual Data Model) เพื่ออธิบายถึงเค้าร่างของฐานข้อมูล (Conceptual Database Schema) ซึ่งประกอบด้วย ความหมายของเอนติตี้ (Entity) แอททริบิวต์ (Attribute) ความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้ (Relationship)

3 Entity เอนติตี้ หมายถึงวัตถุ (object) หรือแนวคิดที่สามารถบอกความแตกต่างของแต่ละเอนติตี้ได้ หรืออาจหมายถึงสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการเก็บข้อมูล เช่น ลูกค้า สินค้า พนักงานขาย การสั่งซื้อสินค้า ประเภทของเอนติตี้ Regular Entity หรือ Strong Entity Weak Entity

4 Weak Entity

5 คุณลักษณะของเอนติตี้
เป็นการกำหนดรายละเอียดข้อมูลของเอนติตี้ว่าเอนิตี้ประกอบด้วยแอททริบิวต์อะไรบ้าง Composite Attribute Derived Attribute Multivalued Attribute

6 ความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้
แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Relationship) แบบหนึ่งต่อหลาย (One to Many Relationship) แบบหลายต่หลาย (Many to Many Relationship)

7 Mapping Cardinalities
One to one One to many Note: Some elements in A and B may not be mapped to any elements in the other set

8 Mapping Cardinalities
Many to one Many to many Note: Some elements in A and B may not be mapped to any elements in the other set

9 Example 1:M Relationship
Figure 2.18

10 Example 1:M Relationship
Figure 2.20

11 Example M:N Relationship
Figure 2.23

12 Example M:N Relationship
Figure 2.24

13 Converting M:N Relationship to Two 1:M Relationships
Figure 2.25

14 Converting M:N Relationship to Two 1:M Relationships (con’t.)
Figure 2.26

15 Converting M:N Relationship to Two 1:M Relationships (con’t.)
Figure 2.27

16 ความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี
(Relationship)

17 ลักษณะของความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างสองเอนติตี้ (Binary Relationship) ความสัมพันธ์ระหว่างสามเอนติตี้ (Ternary Relationship) ความสัมพันธ์กับเอนติตี้เอง (Recursive Relationship หรือ Unary Relationship)

18 Three Types of Relationships
Figure 3.21

19 ข้อกำหนดของความสัมพันธ์
Relationship Constraints

20 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
อาจพิจารณาละเอียดลงไปในข้อกำหนดของความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้ (Participation Constraint) ซึ่งใช้ในการกำหนด คุณสมบัติของแอททริบิวต์ที่เป็นค่าว่าง (Null) หรือไม่เป็นค่าว่าง (Not Null) ขึ้นกับ Business Ruleสามารถแบ่งออกเป็นสองลักษณะคือ Total Participation (Mandatory Participation) Partial Participation (Optional Participation)

21 Total Participation หมายถึงทุกแถวของเอนติตี้หนึ่ง จะมีข้อมูลของแอททริบิวต์ซึ่งมีความสัมพันธ์กับแอททริบิวต์เดียวกันนี้ในอีกเอนติตี้หนึ่งเสมอ

22 Partial Participation
หมายถึงมีเพียงบางแถวของเอนติตี้หนึ่งที่จะมีข้อมูลของแอททริบิวต์ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับแอททริบิวต์เดียวกันนี้กับอีกตารางหนึ่ง

23 Participation of an Entity Set in a Relationship Set
Total participation (indicated by double line): every entity in the entity set participates in at least one relationship in the relationship set E.g. participation of loan in borrower is total every loan must have a customer associated to it via borrower Partial participation: some entities may not participate in any relationship in the relationship set E.g. participation of customer in borrower is partial


ดาวน์โหลด ppt E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google