ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยDitt Temirak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
กลุ่มพัฒนางานรุ่นที่ 7-10 ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ
โครงการลดทรัพย์สินสูญหาย ในพื้นที่โรงอาหารมหาวิทยาลัย (ฝั่งทิศตะวันออก) กลุ่มพัฒนางานรุ่นที่ 7-10 ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ
2
แนะนำสมาชิก 1. นายสรรค์ คงยืน ประธานกลุ่ม 8. นายนพพร มารอด สมาชิก
1. นายสรรค์ คงยืน ประธานกลุ่ม 2. นายประสิทธิ์ มากมณี เลขานุการ 3. นายประเทือง ด่านไทยณรงค์ สมาชิก 4. นายณัตพร เจาทวิภาค สมาชิก 5. นายวชริน ทิพสุภา สมาชิก 6. นายอภิวัฒน์ สุดสอาด สมาชิก 7. นายไพฑูรย์ แป้นโพธิ์ สมาชิก 8. นายนพพร มารอด สมาชิก 9. นายธรรมนูญ รุ่งเรือง สมาชิก 10. นายคะนอง พันทบ สมาชิก 11. นายคำจันทร์ คำสอนพันธ์ สมาชิก 12. นายกฤษดา อีเม็ง สมาชิก 13. นายสุรชาติ สุภาดี สมาชิก 14. นายณรงค์ ดีไพร สมาชิก
3
รศ.ดร.บัญชา ชลาภิรมย์ ที่ปรึกษากลุ่ม
รศ.ดร.บัญชา ชลาภิรมย์ ที่ปรึกษากลุ่ม
4
โครงสร้างหน่วยงาน-ภารกิจ-กลุ่มผู้ใช้บริการ
โครงสร้างการบริการศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจร รศ.ดร.บัญชา ชลาภิรมย์ ผู้อำนวยการศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ ธุรการ ร.ป.ภ.ผู้ให้บริการ ภารกิจหลัก : ให้บริการด้านความปลอดภัย ทรัพย์สิน และการจราจรในพื้นที่ กลุ่มผู้ให้บริการ : อาจารย์ นิสิต บุคลากร บุคคลภายนอก
5
ประเด็นปัญหาที่พบ รับแจ้งทรัพย์สินสูญหายภายในโรงอาหารรวม : จุลจักรพงษ์ มหาจักรี มหิตลาธิเบต ช่วงระยะเวลาทรัพย์สินสูญหาย – น. เฉลี่ย 4 ครั้ง/เดือน
7
“ ลดของสูญหายภายในโรงอาหารฝั่งทิศตะวันออก ”
หัวข้อโครงการ “ ลดของสูญหายภายในโรงอาหารฝั่งทิศตะวันออก ” วัตถุประสงค์ : เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในทรัพย์สิน ระหว่างการใช้บริการบริเวณภายในโรงอาหาร เพื่อรักษาภาพลักษณ์ที่ดีในความปลอดภัยภายในมหาวิทยาลัย เพื่อป้องกันปัญหาของสูญหายเกิดขึ้น เพราะเมื่อสูญหายแล้วจะต้องสูญเสียเวลา และกำลังเจ้าหน้าที่ในการติดตามเป็นจำนวนมาก และ ยากที่จะติดตามคืนได้ ตัววัดผลสำเร็จ : มีความปลอดภัยมากขึ้น และสามารถแจ้งเหตุได้เร็วและทันการณ์ ลดของสูญหายให้เป็น ศูนย์ (0) ไม่ให้เกิดการสูญหายของทรัพย์สิน
8
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ไม่ระวังทรัพย์สิน ของผู้ใช้บริการ ร.ป.ภ. ขาดการดูแลที่แท้จริง ไม่มีป้ายแจ้งเตือน เสียงตามสาย ไม่มีที่แจ้งเหตุ เวลาเกิดเหตุ สถานที่ฝากของไม่มี การจำหน่ายอาหารที่ไม่เป็นระบบ เกิดการล่าช้า เทคโนโลยี ราคาถูก ค้นภาพผู้ต้องหา แต่ไม่ชัดเจน มีผู้ต้องสงสัยเข้ามาในบริเวณ ไม่มีแนวทางที่ชัดเจน เกิดการกลัว เวลาแจ้งเหตุ กลัวเสียเวลา เวลามาใช้บริการนำสิ่งของมาเยอะ
9
สิ่งที่ดำเนินการ
10
Action 1 จัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ และที่คั่นหนังสือ (เพื่อสร้างการรับรู้ ตระหนักในความปลอดภัย และเบอร์อุ่นใจ)
11
Action 2 รปภ.ร่วมแรง ร่วมใจ ประชาสัมพันธ์
12
ภาพบรรยากาศ : การลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์
โรงอาหารรวม : จุลจักรพงษ์ มหาจักรี มหิตลาธิเบต
13
นิสิตให้ความสนใจ….เป็นอย่างดี…
14
ผลที่ได้รับ
15
ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง เฉลี่ย 4 ครั้ง/เดือน เฉลี่ย 0 ครั้ง/เดือน
16
ปัญหา/อุปสรรคที่พบ และแนวทางแก้ไข
ผลกระทบ แนวทางแก้ไข 1. การจัดทำที่ฝากของ_พื้นที่ ล่าช้าของโครงการ ประสานงาน ฝ่ายรับผิดชอบด้านโรงอาหาร 2. เทคโนโลยี_ไม่ทันยุค ประสานงานฝ่ายที่รับผิดชอบ 3. แผ่นพับ_เบอร์อุ่นใจ -
17
สรุปสิ่งที่เรียนรู้ สิ่งที่เรียนรู้ การนำไปใช้ การทำงานร่วมกันเป็นทีม
การบริการที่แท้จริง ระหว่างอาจารย์ นิสิต และบุคคลภายนอก การบริหาร การบริการงานประจำกับการพัฒนางาน ตะหนักในความปลอดภัย การเป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงงานบริการ เป็นมาตรฐานในอนาคต ที่จะบริการแบบมืออาชีพ
18
สิ่งที่จะปฏิบัติต่อไป
ดูแล : ปรับปรุงและพัฒนางาน ให้เป็นผู้ให้บริการแบบมืออาชีพทุกรูปแบบของความปลอดภัยที่เป็นมาตรฐาน รูปแบบ : จัด ร.ป.ภ.แบบเฉพาะกิจ จัดโต๊ะให้บริการในการแจ้งเหตุ บริเวณโรงอาหารเวลา – น.
19
จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.