ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSigbjørn Lauritzen ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ผู้อำนวยการสำนักงานบังคับคดีจังหวัดบุรีรัมย์ สาขานางรอง กรมบังคับคดี
การบังคับคดีแพ่ง นายณัฏฐกัลย์ ละเอียด ผู้อำนวยการสำนักงานบังคับคดีจังหวัดบุรีรัมย์ สาขานางรอง กรมบังคับคดี
2
การบังคับคดีแพ่ง การยึดทรัพย์สิน การขายทอดตลาดทรัพย์สิน
การอายัดทรัพย์สิน การขับไล่,รื้อถอน
3
ตั้งเรื่องขอบังคับคดี
คำพิพากษา คำบังคับ หมายบังคับคดี กรมบังคับคดี สนง.บังคับคดี เจ้าหนี้ ตั้งเรื่องขอบังคับคดี
4
ผู้ที่มีอำนาจในการบังคับคดี
เจ้าพนักงานบังคับคดี
5
การยึดทรัพย์สิน บังคับกับทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษา
สังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์
6
การตั้งเรื่องขอบังคับคดี
การสืบหาทรัพย์สิน เตรียมเอกสารส่งประกอบการยึด อายัด ยื่นคำขอยึด อายัดโดยแสดงรายละเอียดทรัพย์ วางเงินทดรองจ่าย เตรียมพาหนะ นำเจ้าพนักงานไปดำเนินการ
7
เอกสารประกอบการยึดอสังหาริมทรัพย์
เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง แผนที่การไปที่ตั้งทรัพย์ที่ยึด ภาพถ่ายปัจจุบันของทรัพย์ที่ยึด สำเนาทะเบียนบ้าน หนังสือรับรองนิติบุคคลของเจ้าหนี้ ลูกหนี้หรือผู้ถือกรรมสิทธิ์ (รับรองไม่เกิน1เดือน) หนังสือมอบอำนาจ(หากมี)
8
อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานบังคับคดี
เป็นผู้แทนเจ้าหนี้ในการรับชำระหนี้หรือทรัพย์สิน ที่ลูกหนี้นำมาวาง (ม.278) ยึด อายัด ยึดถือทรัพย์สินของลูกหนี้ และนำทรัพย์ ออกขายทอดตลาด(ม.278)
9
อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานบังคับคดี (ต่อ)
ดำเนินวิธีการบังคับทั่ว ๆ ไปตามที่ศาลกำหนดไว้ใน หมายบังคับคดี ( ม.278) ดำเนินการบังคับคดีในระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นและตกในวันทำการงานปกติ เว้นแต่ เหตุฉุกเฉินโดยได้รับอนุญาตจากศาล (ม.279)
10
อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานบังคับคดี (ต่อ)
ค้นสถานที่ใดๆของลูกหนี้หรือที่ลูกหนี้ปกครองอยู่ เท่าที่จำเป็น (ม.279) กระทำการใดๆตามสมควรเพื่อเปิดสถานที่หรือบ้าน ที่อยู่ หรือโรงเรือนดังกล่าว (ม.279) มีผู้ขัดขวางให้ขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อดำเนินการบังคับคดีจนได้ (ม.279)
11
สิทธิและหน้าที่ของลูกหนี้
อยู่และดูแลในเวลาที่เจ้าพนักงานยึดทรัพย์ ไม่ป้องกันหรือขัดขวางการบังคับคดี (ม.281) ดูแลรักษาทรัพย์ที่ยึด โดยความยินยอมของเจ้าหนี้และใช้ทรัพย์สินนั้นได้ตามสมควร (ม.305)
12
ทรัพย์สินที่ยึดไม่ได้
เครื่องนุ่งห่มหลับนอน เครื่องใช้ในครัวเรือน เครื่องใช้สอยส่วนตัว ประมาณรวมกันราคาไม่เกิน 50,000 บาท เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่จำเป็นในการเลี้ยงชีพหรือประกอบวิชาชีพ ประมาณรวมกันราคาไม่เกิน 100,000 บาท ทรัพย์สินที่โอนไม่ได้ตามกฎหมาย (ม. 285 แก้ไข พ.ศ. 2548)
13
ระยะเวลาในการบังคับคดี นับแต่วันมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ภายใน 10 ปี นับแต่วันมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง (ม.275)
14
รายงานศาลขอขายทอดตลาดทรัพย์
เมื่อเแจ้งการยึดไปยังลูกหนี้และผู้มีส่วนได้เสียแล้ว เจ้าพนักงานจะดำเนินการ รายงานศาลขอขายทอดตลาดทรัพย์
15
การจำหน่ายทรัพย์สิน ขายทอดตลาดเมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาต
เว้นแต่ สภาพทรัพย์เป็นของสดของเสียได้ซึ่งจะขาย ได้ทันทีโดยวิธีขายทอดตลาดหรือวิธีอื่นที่เห็นสมควร
16
ขั้นตอนการประกาศขายทอดตลาด
จัดทำประกาศขาย ระบุรายละเอียดทรัพย์ ราคาประเมิน วัน เวลา สถานที่ขาย พร้อมข้อสังเกต คำเตือน เงื่อนไข ส่งประกาศขายให้ผู้มีส่วนได้เสีย ปิดประกาศขายไว้โดยเปิดเผย
17
ขั้นตอนการขายทอดตลาด
ไม่มีผู้เสนอราคา งดขาย มีผู้เสนอราคาสูงสุดและเป็นราคาที่สมควรขาย ไม่มีผู้คัดค้านราคา เคาะไม้ขาย มีผู้คัดค้านราคา เลื่อนการขายไปนัดหน้า ผู้เสนอราคาสูงสุดผูกพันกับการเสนอราคา 30 วัน กำหนดขายนัดต่อไป เคาะไม้ขายให้แก่ผู้เสนอราคาสูงสุด ( ม. 309 ทวิ แก้ไข พ.ศ.2547)
18
การชำระราคาค่าซื้อทรัพย์
สังหาริมทรัพย์ ชำระเงินสดทันที เงินที่วางเป็นหลักประกันเป็นเงินมัดจำ เงินที่เหลือชำระภายใน 15 วัน มีเหตุจำเป็นขอขยายเวลาวางเงินได้ 3 เดือน อสังหาริมทรัพย์
19
การขอให้ศาลเพิกถอนการขายทอดตลาด
ราคาขาย ต่ำเกินสมควร ราคาต่ำเกิดจากการคบคิดกันฉ้อฉลระหว่างผู้เกี่ยวข้องในการเข้าสู้ราคาหรือความไม่สุจริตหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของเจ้าพนักงาน ร้องขอภายใน 15 วัน นับแต่วันขายทอดตลาด * คำสั่งของศาลเป็นที่สุด *( ม.309 ทวิ ว.2 ประกอบ ม.296)
20
ซื้อทรัพย์ได้แล้วเจ้าของเดิมไม่ยอมออกไป
ขอศาลออกคำบังคับให้เจ้าของเดิม บริวารออกไปจากทรัพย์ที่ซื้อภายในเวลาที่ศาลกำหนด ไม่น้อยกว่า 30 วัน
21
การอายัดทรัพย์สิน บังคับกับสิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ที่มีต่อบุคคลภายนอก
สั่งบุคคลภายนอกมิให้ชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้แต่ให้ชำระแก่ เจ้าพนักงานบังคับคดีแทน (ม.311) สั่งห้ามลูกหนี้จำหน่าย หรือโอนสิทธิเรียกร้องนั้น (ม.311)
22
สิทธิเรียกร้องที่อายัดได้
เงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยขยัน ค่าล่วงเวลา โบนัส เงินตอบแทนกรณีออกจากงาน เงินฝากในบัญชีธนาคาร สถาบันการเงิน เงินปันผล ค่าเช่าบ้าน ค่าเช่าทรัพย์สิน ฯลฯ
23
สิทธิเรียกร้องที่อายัดไม่ได้
เงินเดือน ค่าจ้าง บำนาญ บำเหน็จ เบี้ยหวัด หรือรายได้อื่นในลักษณะเดียวกันของข้าราชการ หรือลูกจ้างของรัฐบาล เว้นแต่กรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้เป็นการเฉพาะ เงินเดือน ค่าจ้าง บำนาญ ค่าชดใช้ เงินสงเคราะห์ หรือรายได้อื่นในลักษณะเดียวกันของพนักงาน ลูกจ้าง คนงานที่นายจ้างจ่ายให้รวมกัน ไม่เกินเดือนละ 10,000 บาท หรือตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควร เงินกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ( กบข ) เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ฯลฯ
24
เอกสารประกอบการอายัด
สำเนาทะเบียนบ้าน / สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน / สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคลของเจ้าหนี้ หนังสือมอบอำนาจ หลักฐานแห่งสิทธิเรียกร้อง สำเนาทะเบียนบ้าน / สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคลของลูกหนี้และผู้รับคำสั่งอายัด (รับรองไม่เกิน 1 เดือน)
25
การพิจารณาลดอายัดเงินเดือน ค่าจ้าง
ลูกหนี้ขอลดการอายัด ส่งหนังสือรับรองเงินเดือน หลักฐานความจำเป็น เจ้าพนักงานพิจารณาลดอายัดเงินได้ไม่ เกินกึ่งหนึ่ง เจ้าหนี้ / ลูกหนี้ไม่เห็นชอบ ให้ร้องต่อศาลเพื่อกำหนดจำนวนเงินที่อายัดใหม่
26
บุคคลภายนอกไม่ส่งเงินตามอายัด
ออกหนังสือแจ้งเตือน รายงานศาลเรียกบุคคลภายนอกไปไต่สวน ขอออกหมายบังคับคดีแก่บุคคลภายนอกเสมือน เป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา (ม. 312 วรรค 2)
27
การจ่ายเงินให้เจ้าหนี้
พ้นระยะเวลาร้องขอเฉลี่ย 14 วัน เจ้าหนี้ ลูกหนี้ไม่ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ไม่มีเหตุขัดข้องอื่น(คำสั่งศาล)
28
กรมบังคับคดี : www.led.go.th
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.