ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบัญชีสำหรับ กิจการขายผ่อนชำระ
อาจารย์ มณีจันทร์ มาสูตร
2
ความหมายและลักษณะของการขายผ่อนชำระ
การขายผ่อนชำระ (Installment sales) หมายถึง การขายสินค้าหรือบริการที่ผู้ขายยินยอมให้ผู้ซื้อจ่ายชำระเงินเป็นงวดๆ ติดต่อกันภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยปกติผู้ขายมักจะกำหนดให้ผู้ซื้อจ่ายชำระเงินล่วงหน้าเป็นจำนวนหนึ่ง เรียกว่า เงินดาวน์ (Down Payment) การขายผ่อนชำระมักจะนิยมใช้กับสินค้าที่มีราคาค่อนข้างสูง เช่น รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน อุปกรณ์สำนักงาน และที่ดินจัดสรร เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขายผ่อนชำระเป็นจำนวนค่อนข้างสูง ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยงต่อการขาดทุนที่จะเกิดขึ้นจากการขายผ่อนชำระ ผู้ขายจึงมักทำเป็นสัญญาซื้อขายแบบมีเงื่อนไข เรียกว่า สัญญาเช่าซื้อ โดยระบุสัญญาให้กรรมสิทธิ์ในสินค้าที่ขายยังไม่ตกเป็นของผู้ซื้อจนกว่าผู้ซื้อจะชำระเงินครบถ้วนแล้ว อาจารย์ มณีจันทร์ มาสูตร
3
หลักการบัญชี วิธีการบัญชี และการแสดงข้อมูลในงบการเงินเกี่ยวกับการขายผ่อนชำระ
การขายผ่อนชำระต้องใช้เวลาในการเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้ค่อนข้างนาน ทำให้เกิดความเสี่ยงในการที่จะเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ และยังมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขายผ่อนชำระเกิดขึ้นภายหลังงวดบัญชีที่มีการขายผ่อนชำระเป็นจำนวนมาก จึงมีการยอมรับหลักบัญชีที่ว่า จะรับรู้กำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระตามส่วนของเงินที่เก็บได้ วิธีการขายผ่อนชำระ เป็นวิธีการบัญชีที่บันทึกรายได้จากการขายผ่อนชำระเฉพาะกำไรขั้นต้นที่คำนวณตามส่วนของเงินสดที่ได้รับชำระจากลูกหนี้ในแต่ละปี ส่วนค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขายผ่อนชำระถือเป็นค่าใช้จ่ายในแต่ละปีที่เกิดขึ้น อาจารย์ มณีจันทร์ มาสูตร
4
สำหรับวิธีการขายผ่อนชำระนั้น ในงบกำไรขาดทุน จะแสดงยอดขายผ่อนชำระหักด้วยต้นทุนขายผ่อนชำระ ผลลัพธ์ที่ได้คือ กำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระปีปัจจุบันทั้งหมด แล้วจึงนำส่วนของกำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระปีปัจจุบันส่วนที่ยังไม่ได้รับเงินมาหักออก ผลลัพธ์ที่ได้คือ รายได้จากการขายผ่อนชำระปีปัจจุบัน ส่วนกำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระในปีก่อนๆ ที่ได้รับเงินในปีปัจจุบันก็ถือเป็นรายได้ในปีปัจจุบันให้นำมาบวก ผลลัพธ์ที่ได้คือกำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระทั้งสิ้นที่ได้รับเงินแล้วซึ่งถือว่าเป็นรายได้ในปีปัจจุบัน ในงบดุล ลูกหนี้จากการขายผ่อนชำระจะแสดงเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน กำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระส่วนที่ยังไม่ได้รับเงิน จะแสดงเป็นหนี้สินหมุนเวียนในหัวข้อรายได้รอตัดบัญชี อาจารย์ มณีจันทร์ มาสูตร
5
ตัวอย่าง บริษัท พิศุทธิ์ จำกัด ขายสินค้าโดยวิธีขายผ่อนชำระ ข้อมูลทางบัญชีเกี่ยวกับการขายผ่อนชำระสำหรับระยะเวลา 3 ปี มีดังนี้ ใช้วิธีบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง(Perpetual Inventory Method) หน่วย : บาท 25x1 25x2 25x3 ขายผ่อนชำระ , , ,000 ต้นทุนขายผ่อนชำระ 160, , ,000 กำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระ , , ,000 อัตรากำไรขั้นต้น % % % จำนวนเงินที่ได้รับชำระหนี้ จากการขายปี 25x1 - เงินดาวน์ , - ลูกหนี้ , , ,000 จากการขายปี 25x2 - เงินดาวน์ , - ลูกหนี้ , ,000 จากการขายปี 25x3 - เงินดาวน์ ,000 - ลูกหนี้ ,000 กำไรขั้นต้นที่ได้รับเงิน 20% ของเงินที่เก็บจากการขายปีx , , ,000 30% ของเงินที่เก็บจากการขายปีx , ,000 40% ของเงินที่เก็บจากการขายปีx ,000 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร , , ,000
6
ต้นทุนขายผ่อนชำระ 160,000 วันที่ขายสินค้า 25x1 : เงินสด 20,000
ขายผ่อนชำระ ,000 บันทึกขายสินค้าโดยผ่อนชำระและรับเงินดาวน์ ต้นทุนขายผ่อนชำระ ,000 สินค้าคงเหลือ ,000 บันทึกต้นทุนขายผ่อนชำระ วันที่รับชำระเงิน : เงินสด 40,000 ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ ,000 บันทึกการรับชำระเงินจากลูกหนี้ วันที่จ่ายค่าใช้จ่าย : ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 3,000 เงินสด ,000 บันทึกค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร วันสิ้นงวดบัญชี : กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน 40,000 กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชีปี x ,000 บันทึกกำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชีสำหรับปี x1 กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชีปี x1 12,000 กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน ,000 บันทึกการโอนกำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ได้รับเงินแล้วเป็นรายได้ วันสิ้นงวดบัญชี : ขายผ่อนชำระ ,000 ต้นทุนขายผ่อนชำระ ,000 กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน ,000 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ,000 กำไรขาดทุน ,000
7
บริษัท พิศุทธิ์ จำกัด งบกำไรขาดทุน
บริษัท พิศุทธิ์ จำกัด งบกำไรขาดทุน สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x1 หน่วย : บาท ขายผ่อนชำระ ,000 หัก ต้นทุนขายผ่อนชำระ ,000 กำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระ ,000 หัก กำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระที่ยังไม่ได้รับเงิน ,000 กำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระที่ได้รับเงินแล้ว ,000 หัก ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ,000 กำไรสุทธิ ,000 งบดุล (บางส่วน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 หน่วย : บาท สินทรัพย์หมุนเวียน ลูกหนี้ขายผ่อนชำระปีx ,000 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอการตัดบัญชีปีx ,000
8
สินค้ารับแลกเปลี่ยน วิธีการแข่งขันกับผู้ขายรายอื่นที่ขายสินค้าประเภทเดียวกันและยังเป็นวิธีจูงใจให้ลูกค้าซื้อสินค้าใหม่ของกิจการที่ขายสินค้าโดยวิธีการขายผ่อนชำระ กิจการจะยินยอมให้ลูกค้านำสินค้าเก่าที่ใช้อยู่มาแลกเปลี่ยนสินค้าใหม่ โดยผู้ขายจะตีราคาสินค้าเก่าสูงกว่าราคาตลาด และถือว่าราคาสินค้าที่ตีให้นั้นเป็นส่วนหนึ่งของการชำระค่าสินค้าใหม่ ส่วนที่เหลือให้ลูกค้าผ่อนชำระเป็นงวดๆ ภายในระยะเวลาที่กำหนด หลักการบัญชีของสินค้ารับแลกเปลี่ยน บันทึกสินค้ารับแลกเปลี่ยนเป็นสินทรัพย์ของกิจการไว้ในราคาตลาดที่แท้จริง ผลต่างระหว่างราคาที่ผู้ขายคิดให้กับราคาตลาดที่แท้จริงของสินค้ารับแลกเปลี่ยน คำนวณหาอัตรากำไรขั้นต้นได้จากยอดขายผ่อนชำระสุทธิ ตัวอย่าง วันที่ 1 สิงหาคม x1 บริษัท กะรัต จำกัด ขายรถยนต์คันหนึ่งราคา 800,000 บาท ราคาทุน 516,750 บาท โดยลูกค้าได้นำรถยนต์เก่าใช้แล้วมาแลกเปลี่ยน บริษัทตีราคาให้ 70,000 บาท ซึ่งถือเป็นเงินดาวน์ในการชำระค่ารถยนต์ รถยนต์เก่านี้จะประมาณราคาขายได้100,000 บาท หลังจากซ่อมแซมแล้วเป็นเงิน 15,000 บาท คิดกำไรขั้นต้น 20% ในวันที่ 1 สิงหารคม x1 ลูกค้าจะต้องนำเงินสดมาจ่ายเป็นเงินดาวน์ให้บริษัทอีก 30,000 บาท ตามสัญญาขายผ่อนชำระที่เหลือเป็นระยะเวลา 10 เดือน เดือนละเท่าๆ กันทุกวันที่1 ของเดือนโดยเริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน x1 ราคารถยนต์เก่าที่แลกเปลี่ยนบริษัทคิดให้ 70,000 หัก ราคาตลาดที่แท้จริงของรถยนต์เก่าที่รับแลกเปลี่ยน ราคาที่คาดว่าจะขายได้หลังจากซ่อมแล้ว 100,000 หัก ค่าซ่อมแซม 15,000 กำไรขั้นต้น 20% 20, ,000 65,000 ส่วนเกินของสินค้ารับแลกเปลี่ยน ,000
9
หลังจากคำนวณหาส่วนเกินสินค้ารับแลกเปลี่ยนแล้ว ให้คำนวณหาอัตรากำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระ
ขายผ่อนชำระ ,000 หัก ส่วนเกินของราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยน ,000 ขายผ่อนชำระสุทธิ ,000 หัก ต้นทุนขายผ่อนชาระ ,750 กำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระ 278,250 อัตรากำไรขั้นต้น = กำไรขั้นต้นจากการขายผ่อนชำระ x 100 ขายผ่อนชำระสุทธิ = 278,250 x100 795,000 = 35 % การบันทึกบัญชีการขายสินค้ารับแลกเปลี่ยน 1 ส.ค. X1 สินค้ารับแลกเปลี่ยน 65,000 เงินสด 30,000 ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ ,000 ส่วนเกินของราคาสินค้ารับแลกเปลี่ยน 5,000 บันทึกการขายสินค้าโดยการขายผ่อนชำระและรับแลกเปลี่ยนสินค้า ต้นทุนขายผ่อนชำระ 516,750 สินค้าคงเหลือ ,750 บันทึกต้นทุนขายผ่อนชำระ
10
การผิดนัดชำระเงินค่างวด และยึดคืนสินค้า (Defaults and Repossessions)
เมื่อลูกหนี้ที่เกิดขึ้นจากการขายผ่อนชำระผิดนัดไม่ชำระเงินสองงวดติดต่อกัน และผู้ขายเห็นว่าไม่สามารถเรียกติดตามเรียกเก็บเงินได้ ผู้ขายมีสิทธิ์รับเงินที่ชำระเงินแล้วและสามารถยึดสินค้าคืนจากลูกหนี้ได้ ตัวอย่าง วันที่ 1 มิถุนายน x1 บริษัท พลอยรดา จำกัด ขายรถจักรยายนต์ 2 คัน โดยวิธีผ่อนชำระ ราคาขาย 140,000 บาท วางเงินดาวน์คันล่ะ 20,000 บาท ที่เหลือกำหนดชำระทุกเดือนๆละเท่ากันทั้งหมด 24 เดือน ผ่อนชำระงวดแรกเริ่ม 1 กรกฎาคม x1 ต่อมาผู้ซื้อผิดนัดชำระหนี้งวดที่ถึงกำหนดชำระ 1 พฤษภาคม x2 และงวดต่อๆมา ดังนั้น ในวันที่ 1 สิงหาคม x2บริษัทจึงยึดรถคืนมาในสภาพที่ทรุดโทรมมาก เสียค่าซ่อมแซม 2,700 บาทและประมาณจะขายได้ในราคา 65,000 บาท บริษัทกำหนดราคาขายรถที่ใช้งานแล้วในราคาบวกกำไรขั้นต้นไว้แล้ว 20% และกำหนดราคาขายรถใหม่กำไรขั้นต้น 30% ราคาขายที่ประมาณไว้ 65,000 หัก ค่าซ่อมแซม 2,700 กำไรขั้นต้น 20% ของ 65, , ,700 ราคาตลาดที่แท้จริงของสินค้ายึดคืน 49,300 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินค้ายึดคืน 1ส.ค.x2 สินค้ายึดคืน ,300 กำไรขั้นต้นขายผ่อนชำระรอตัดบัญชี 30%x70, ,000 ลูกหนี้ขายผ่อนชำระ(5,000x14 งวดที่เหลือ) 70,000 กำไรจากการยึดคืนสินค้า บันทึกการยึดรถจักรยานยนต์คืนในราคาตลาด อาจารย์ มณีจันทร์ มาสูตร
11
จำนวนเงินที่ได้รับชำระ
วิธีการคิดดอกเบี้ยจากการขายผ่อนชำระ โดยปกติการขายสินค้าโดยการขายผ่อนชำระ ผู้ขายได้คิดดอกเบี้ยไว้ในราคารวมสินค้าแล้ว ทั้งนี้เนื่องจากผู้ขายได้ลงทุนในสินค้าไปก่อน และจะต้องรอเรียกเก็บเงินเป็นงวดๆให้ครบจะต้องใช้ระยะเวลานาน ดอกเบี้ยที่ผู้ขายคิดนี้เป็นรายได้ที่ผู้ขายจะได้รับเป็นค่าตอบแทนสำหรับการขายสินค้าวิธีผ่อนชำระ วิธีการคิดดอกเบี้ยมีหลายวิธี แต่ที่นิยมใช้มี 2 วิธี คือ คำนวณดอกเบี้ยจากยอดเงินค้างชำระแต่ละงวด ตัวอย่าง วันที่ 1 มกราคม x1 บริษัท โรสสริน จำกัด ขายรถจักรยานยนต์ ราคาทุน 91,000 บาท โดยวิธีผ่อนชำระในราคา 140,000 บาท กำหนดให้ผู้ซื้อชำระเงินทันที ณ วันที่ทำสัญญา 40,000 บาท ที่เหลือสมมติผ่อนชำระเป็นเวลา 4 ปี โดยชำระเงินทุกๆ วันสิ้นปี อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี คำนวณจำนวนเงินงวด จำนวนเงินงวด = จำนวนเงินต้น + จำนวนดอกเบี้ยทั้งสิ้น จำนวนงวดผ่อนชำระ = 100, ,000 = 35,000 บาท 4 ตารางที่ 1 การแสดงาจำนวนเงินที่ได้รับแต่ละงวดประกอบด้วย ดอกเบี้ย เงินต้น เงินต้นค้างชำระ เงินงวด จำนวนเงินที่ได้รับชำระ เงินต้นค้างชำระ ดอกเบี้ย เงินต้น 100,000 1 35,000 16,000 19,000 81,000 2 12,000 23,000 58,000 3 8,000 27,000 31,000 4 4,000 - 140,000 40,000 อาจารย์ มณีจันทร์ มาสูตร
12
วิธี่ที่ 2 คิดดอกเบี้ยจากยอดเงินคงค้างและจำเงินงวดเท่ากันทุกงวด
จำนวนเงินเงินงวด = จำนวนเงินต้น ค่าแฟคเตอร์จากตารางค่าเงินรายปี ตัวอย่าง วันที่ 1 มกราคม x1 บริษัท ตะวัน จำกัด ขายที่ดินแปลงหนึ่งราคาทุน 210,000 บาท โดยวิธีผ่อนชำระ ในราคา 300,000 บาทกำหนดให้ผู้ซื้อชำระเงินทันที ณ วันที่ทำสัญญา 30,000 บาท ที่เหลือผ่อนชำระเป็นเวลา 10 ปี โดยชำระเงินทุกๆวันสิ้นปี อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี คำนวณจำนวนเงินต้นที่ต้องชำระ ราคาขายผ่อนชำระ 300,000 หัก เงินดาวน์ ณ วันที่ทำสัญญา 30,000 จำนวนเงินต้นที่ต้องชำระ 270,000 คำนวณจำนวนเงินงวด เปิดตาราง Present Value of Annuity of 1 ที่ n = 10 ปี, I = 10% จะได้ค่าแฟคเตอร์ โดย n= จำนวนงวดขายผ่อนชำระ i= อัตราดอกเบี้ย จำนวนเงินงวด = เงินต้นค้างชำระ แฟคเตอร์จากตารางเงินรายปี = 270,000 6.1446 = 43,941 บาท อาจารย์ มณีจันทร์ มาสูตร
13
จำนวนเงินที่ได้รับชำระ
งวดที่ จำนวนเงินที่ได้รับชำระ เงินต้นค้างชำระ เงินงวด ดอกเบี้ย เงินต้น 270,000 1 43,941 27,000 16,941 253,059 2 25,306 18,635 234,424 3 23,442 20,499 213,925 4 21,393 22,549 191,377 5 19,138 24,803 166,573 6 16,657 27,284 139,290 7 13,929 30,012 109,278 8 10,928 33,013 76,264 9 7,626 36,315 39,949 10 3,991 439,410 169,410 อาจารย์ มณีจันทร์ มาสูตร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.