ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
2
การส่งเสริมปลูกไม้เศรษฐกิจ ส่วนปลูกป่าภาคเอกชน
ประเภทของอุตสาหกรรมไม้ ประเภทของอุตสาหกรรมไม้ไทย ปริมาณความต้องการไม้ พื้นที่ปลูก ประเภทไม้ที่ใช้ ในอุตสาหกรรม (ล้านตัน) (ล้านไร่) 1 เยื่อและกระดาษ Pulp Industry (Paper &Dissolving) 7.00 2.34 ไม้โตเร็ว 2 แผ่นไม้ประกอบ Wood Composites Industry (PB, MDF, HDF, HB, CBPB, WPC) ไม้โตเร็ว (รวมยางพารา, ไม้ผล) 3 ชิ้นไม้สับ Wood Chip Industry 11.00 3.67 4 ไม้ก่อสร้าง Construction Industry 6.50 0.42 ไม้รอบตัดฟันยาว 5 เฟอร์นิเจอร์ ผลิตภัณฑ์ Furniture industry 2.40 0.11 ไม้โตเร็ว, ไม้รอบตัดฟันยาว 6 พลังงาน Power Industry (Electricity & Heat Pellet) 3.00 1.00 ไม้โตเร็ว (อื่นๆ และเศษเหลือจากขบวนการผลิต) 7 อุตสาหกรรมเพาะเห็ดและปุ๋ยอินทรีย์ Mushroom & Fertilizer Industry 0.50 0.17 ขี้เลื่อย 8 ถ่าน, เชื้อเพลิง, เผาอิฐ, บ่มใบยาสูบ Charcoal & Fuel Wood Industry 10.00 ไม้ฟืน รวม 47.40 20.04 หมายเหตุ PB = Particleboard HB = Hardboard MDF = Medium Density Fiberboard CBPB = Cement - bonded Particleboard HDF = High Density Fiberboard WPC = Wood Plastic Composite
4
การส่งเสริมปลูกไม้เศรษฐกิจ ส่วนปลูกป่าภาคเอกชน
ข้อมูลพื้นที่เป้าหมายการส่งเสริมปลูกไม้เศรษฐกิจ ตามแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการปฏิรูปทรัพยากรป่าไม้ พ.ศ ประเภทอุตสาหกรรมไม้ หน่วย พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ พ.ศ พ.ศ พ.ศ รวม 1.ส่งเสริมปลูกไม้โตเร็ว ไร่ 11,330 13,600 400,000 500,000 1,924,930 2.ส่งเสริมการปลูกไม้รอบตัดฟันยาว 40,000 20,000 200,000 250,000 1,010,000 3.ส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในพื้นที่ ปลูกไม้ยางพาราและพื้นที่เกษตรกรรม 970,000 51,330 53,600 800,000 1,000,000 3,904,930
5
การส่งเสริมปลูกไม้เศรษฐกิจ ส่วนปลูกป่าภาคเอกชน
ข้อมูลพื้นที่เป้าหมายการส่งเสริมปลูกไม้เศรษฐกิจ ตามแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการปฏิรูปทรัพยากรป่าไม้ พ.ศ ประเภทอุตสาหกรรมไม้ หน่วย ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคกลาง,ภาคตะวันออก, ภาคตะวันตก ภาคใต้ รวม 1.ส่งเสริมปลูกไม้โตเร็ว ไร่ 430,000 680,000 690,000 124,930 1,924,930 1.1 การปลูกไม้โตเร็ว เพื่ออุตสาหกรรม 400,000 650,000 270,000 104,930 1,424,930 1.2 การปลูกไม้โตเร็ว เพื่อพลังงานทดแทน 30,000 420,000 20,000 500,000 2.ส่งเสริมการปลูกไม้รอบตัดฟันยาว 320,000 450,000 120,000 1,010,000 3.ส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในพื้นที่ ปลูกไม้ยางพาราและพื้นที่เกษตรกรรม 200,000 250,000 100,000 970,000 950,000 1,550,000 1,060,000 344,930 3,904,930
6
ตารางข้อมูลความต้องการไม้แยกตามประเภทอุตสาหกรรมไม้ และพื้นที่เป้าหมาย
อุตสาหกรรมไม้ ประเภท ท้องที่จังหวัด ที่ สถานประกอบการ พิกัด (UTM WGS.84) ความต้องการใช้ไม้ต่อปี พื้นที่เป้าหมายปลูกไม้เศรษฐกิจ (ไร่) หมายเหตุ ปริมาณความต้องการใช้ไม้ แหล่งวัตถุดิบไม้ ไม้โตเร็ว ไม้รอบตัดฟันยาว N E ภายในจังหวัด ภายนอกจังหวัด ต่างประเทศ หน่วยนับ ชนิดไม้ จำนวน (ไร่) 1 ชื่อ จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน ตัน หรือ ที่อยู่ ตำบล อำเภอ ลูกบาศก์เมตร อำเภอ จังหวัด โทรศัพท์ 2 รวม ลงชื่อ ผู้รายงาน ตำแหน่ง วัน/เดือน/ปี
7
คำชี้แจงการลงข้อมูลในตาราง
ตารางข้อมูลความต้องการไม้แยกตามประเภทอุตสาหกรรมไม้ และพื้นที่เป้าหมาย 1. อุตสาหกรรมไม้ ประเภท รายละเอียดตามตารางประเภทของอุตสาหกรรมไม้ 2. ท้องที่จังหวัด หมายถึง จังหวัดที่ทำการสำรวจข้อมูล ในเขตความรับผิดชอบของสำนัก จัดการทรัพยากรป่าไม้ท้องที่ 3. พิกัด (UTM WGS.84) ใช้พิกัดจุดเดียว ณ ที่ตั้งสถานประกอบการ 4. แหล่งวัตถุดิบไม้ที่นำมาใช้ในสถานประกอบการนั้นๆ ให้แยกตามภายในจังหวัด, ภายนอกจังหวัด และต่างประเทศ (หน่วยนับให้ใช้หน่วยเดียวกัน เป็น ตัน หรือลูกบาศก์เมตร) 5. พื้นที่เป้าหมายปลูกไม้เศรษฐกิจ คือ พื้นที่ที่ต้องส่งเสริมปลูกไม้เศรษฐกิจเพื่อรองรับความต้องการ ของอุตสาหกรรมแต่ละประเภทในพื้นที่ แยกตามไม้โตเร็ว และไม้รอบตัดฟันยาว หมายเหตุ สามารถดาวน์โหลดเอกสารประกอบเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ของส่วนปลูกป่าภาคเอกชน
8
ตารางข้อมูลความต้องการไม้แยกตามประเภทอุตสาหกรรมไม้ และพื้นที่เป้าหมาย
อุตสาหกรรมไม้ ประเภท ท้องที่จังหวัด สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ จังหวัด จำนวน ความต้องการใช้ไม้ต่อปี พื้นที่เป้าหมายปลูกไม้เศรษฐกิจ (ไร่) หมายเหตุ ปริมาณความต้องการใช้ไม้ แหล่งวัตถุดิบไม้ ไม้โตเร็ว ไม้รอบตัดฟันยาว (ราย) ภายในจังหวัด ภายนอกจังหวัด ต่างประเทศ หน่วยนับ ชนิดไม้ จำนวน (ไร่) สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 1 เชียงใหม่ จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน ตัน หรือ (เชียงใหม่) ลำพูน ลูกบาศก์เมตร สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 2 เชียงราย (เชียงราย) พะเยา สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 3 ลำปาง (ลำปาง) อุตรดิตถิ์ สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ ที่ 4 ตาก (ตาก) สุโขทัย กำแพงเพชร ... รวม ลงชื่อ ผู้รายงาน ตำแหน่ง วัน/เดือน/ปี
9
กลุ่มเกษตรกร / กลุ่มวิสาหกิจชุมชน การสนับสนุนจากภาครัฐ
อุตสาหกรรมชีวมวล 1.กรมป่าไม้ สนับหนุนกล้าไม้คุณภาพดีแก่เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการพร้อมให้คำแนะนำทางวิชาการ 2.กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) สนับสนุนงบประมาณโดยกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ผลักดันผ่านหน่วยงานทางการศึกษาและองค์กรไม่แสวงผลกำไร 1.ขาดแหล่งวัตถุดิบเนื่องจากฤดูกาลทางเกษตรนั้นในบางครั้งทิ้งช่วง ทำให้เกิดปัญหาการคลาดแคลนพืชเกษตรจึงเป็นสาเหตุให้เกิดการนำไม้โตเร็วมาใช้ในกระบวนการผลิต 2.การรับรองแหล่งกำเนิดของวัตถุดิบ ทำให้ไม่สามารถส่งออกได้ จึงทำให้ปริมาณการใช้ในประเทศเพียงพอ **ผู้ผลิตเชื้อเพลิงอัดเม็ดในไทย ปัจจุบัน 82 ราย (ข้อมูล ณ 14-กค-59) 1.อุตสาหกรรมที่ใช้ผลิตความร้อนจากหม้อไอน้ำ (เนื่องจากแผนพัฒนาพลังานทดแทน AEDP ระบุเป้าหมายของการใช้พลังงานทดแทนทั้งประเทศ ภายในปี 2564 ต้องเป็น ร้อยละ 25 / ซึ่งในปัจจุบันทางรัฐบาลมีโครงการส่งเสริมในการเปลี่ยนหัวเผาชีวมวล มีเป้าหมายส่งเสริมปีละ 100 ราย (อัตตราเติบโตต่อปีประมาณ ร้อยละ7-10) โดยมีการอุดหนุนค่าใช้จ่ายให้ ร้อยละ 30 รายละไม่เกิน 2,000,000 บาท / โรงงาน โดยงบประมาณที่ได้มาจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ผู้ประกอบการ กลุ่มเกษตรกร / กลุ่มวิสาหกิจชุมชน การสนับสนุนจากภาครัฐ 1. สถานที่ผลิตควรอยู่ไม่ห่างจากโรงานชิ้นไม้สับ หรือโรงงานเชื้อเพลิงอัดเกินรัศมี กิโลเมตรเพื่อลดภาระค่าขนส่ง 2. การตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในการปลูกไม้โตเร็วเพื่อมาเป็นฐานการผลิตเพื่อป้อนเขาสู่ระบบการทำเชื้อเพลิงอัดเม็ดและ ชิ้นไม้สับผ่านทางกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 2. โรงไฟฟ้าชีวมวล (ได้จัดทำโครงการโรงไฟฟ้าขนาดเล็กเพื่อชุมชน โดยเป็นโรงไฟฟ้าขนาด 1 เมกะวัตถ์ สนับสนุนให้เกษตรกรมีการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจเพื่อทำการปลูกไม้โตเร็วเพื่อเป็นวัตถุดิบในการป้อนโรงไฟฟ้า อีกทั้งมีการอุดหนุนงบประมาณในการจัดตั้งเครื่องสับไม้พร้อมเครื่องผลิตกระแสไฟภายในชุมชนอีกด้วย 141 โรง 3.ราคาน้ำมันเตาในอดีตที่มีราคาสูงถึง 24 บาท/ลิตร(2557) แต่ปัจจุบันราคาอยู่ประมาณ 10-12บาท/ลิตร(2559) เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การเปลี่ยนมาเป็นหัวเผาแบบเชื้อเพลิงอัดเม็ดน้อยลง 4.การบำรุงรักษาหัวเผาแบบเชื้อเพลิงอัดเม็ดมีความถี่กว่าแบบน้ำมันจึงเป็นสาเหตุให้ต้องหยุดทำการผลิตในบางช่วงซึ่งอาจส่งผลกระทบธุรกิจได้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.