งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดและทฤษฎีจริยธรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดและทฤษฎีจริยธรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดและทฤษฎีจริยธรรม
บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีจริยธรรม ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

2 ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับกฎหมาย
เป็นเรื่องของจิตสำนึกเกี่ยวกับคุณธรรม ทำผิดถูกสังคมลงโทษ ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นเครื่องมือควบคุมพฤติกรรมระดับสูงของมนุษย์ เป็นการควบคุมพฤติกรรมจากภายใน กระทำด้วยความสมัครใจและภูมิใจเมื่อได้ทำ กฎหมาย เป็นข้อบังคับของรัฐ ลงโทษโดยรัฐ มีลายลักษณ์อักษรชัดเจน เป็นเครื่องมือควบคุมพฤติกรรมระดับต่ำของมนุษย์ ควบคุมพฤติกรรมจากภายนอก ถูกบังคับให้ทำ

3 แหล่งที่มาของจริยธรรม
คำสอนของศาสดา ศาสนา ความจริงของชีวิตโดยใช้การคิดอย่างมีเหตุผล ความดีความงามที่แท้จริง ปรัชญา ประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ที่เกี่ยวกับการกระทำความดี วรรณคดีและวรรณกรรม สภาพการดำรงชีวิตของผู้คนในสังคมที่สงบสุขที่สืบต่อกันมา สังคม ระบบการเมืองการปกครองที่ดี การเมืองการปกครอง

4 สรุปที่มาของจริยธรรม
ศาสนา ปรัชญา วรรณกรรม สภาพสังคม การเมือง

5 กระบวนการเกิดจริยธรรมของมนุษย์
เกิดจากการเรียนรู้ระบบของสังคม เกิดจากการเลียนแบบ การปฏิบัติตามหลักธรรมสากล การสร้างจริยธรรมในตนเอง การบำเพ็ญประโยชน์และพันธสัญญาประชาคม

6 จริยธรรมตามแนวพุทธศาสนา
ให้เว้นจากความชั่ว ให้หมั่นทำความดี ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ หัวใจของพุทธศาสนา

7 หลักจริยธรรมในพุทธศาสนา
ระดับขั้นพื้นฐาน ระดับขั้นกลาง ระดับขั้นสูง

8 ระดับขั้นพื้นฐาน (ศีล 5 และธรรม 5)
เบญจศีล เว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม เว้นจากการพูดปด เว้นจากการดื่มสุราเมรัย เบญจธรรม มีเมตตากรุณา ประกอบอาชีพสุจริต สำรวมในกาม พูดความจริง มีสติสำรวม

9 ระดับขั้นกลาง (กุศลกรรมบท)
ทางกาย เว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิด ในกาม ทางวาจา เว้นจากการพูดปด เว้นจากการพูดส่อเสียด เว้นจากการพูดคำหยาบ เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ ทางใจ ไม่คิดโลภเอาของคนอื่น ไม่คิดปองร้ายผู้อื่น ไม่เห็นผิดไปจากธรรม

10 ระดับขั้นสูง (อริยมรรค 8)
เห็นชอบ คิดชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ สมาธิชอบ

11 จริยธรรมตามแนวคริสตศาสนา
หลักตรีเอกานุภาพ หลักแห่งความรัก อาณาจักรแห่งพระเจ้า หลักคำสอน

12 จริยธรรมในคริสตศาสนา
ศรัทธาและเชื่อในพระเจ้า รักพระเจ้า รักครอบครัว รักเพื่อนบ้าน เพื่อนมนุษย์ ปรารถนาให้เขาปฏิบัติสิ่งใด จงกระทำอย่างนั้นแก่เขาเช่นกัน รักศัตรู ทำคุณและอวยพรแก่ผู้ที่เกลียดชังเรา อย่ากล่าวโทษ

13 จริยธรรมตามแนวศาสนาอิสลาม
หลักศรัทธาความเชื่อ 6ประการ หลักปฏิบัติ 5 ประการ หลักธรรมคำสอน

14 การปฏิบัติจริยธรรมในศาสนาอิสลาม
ข้อที่มุสลิมไม่ควรปฏิบัติ ปฏิเสธในพระอัลเลาะห์ ฆ่าตัวตาย ฆ่าผู้อื่น ไม่มีความเป็นธรรม อกตัญญูต่อพ่อแม่ แม้เพียงกิริยา มีชู้ มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ถูกต้องตามหลักศาสนา เสพของมึนเมา ข้อที่มุสลิมทุกคนควรปฏิบัติ กตัญญูต่อบิดา มารดา เคารพอ่อนน้อม เมตตาสงสารและอุปการะผู้ที่ต่ำกว่า เอาใจเขามาใส่ใจเรา ประพฤติดีต่อเพื่อนบ้าน รักใคร่กลมเกลียวระหว่างญาติพี่น้อง

15 ทฤษฎีคุณธรรมของพลาโต้ ทฤษฎีคุณธรรมของอริสโตเติล
ปรีชาญาณ ฝ่ายปกครอง ความกล้าหาญ ฝ่ายทหาร รู้จักประมาณ ฝ่ายธุรการ ความยุติธรรม ทุกฝ่าย ทฤษฎีคุณธรรมของอริสโตเติล ความรอบคอบอะไรดีหรือไม่ดี ความกล้าหาญมั่นใจในการทำดี การรู้จักประมาณคิดอย่างมีเหตุผลอะไรควรอะไรไม่ควร

16 จริยธรรมในทัศนะของอริสโตเติล
“ชีวิตที่ดีของมนุษย์ย่อมดำเนินไปตามเหตุผล ทำหน้าที่ในสมบูรณ์ ยุติธรรม รู้จักยั้งคิด มีสุขภาพดี อารมณ์ดี การดำเนินชีวิตควรปฏิบัติตามสายกลาง”

17 มาตรฐานของจริยธรรม : นักปรัชญา
ลัทธิความสัมบูรณ์นิยม ความดีอยู่ที่ตัวของมันเอง ไม่ใช่อยู่ที่สภาพแวดล้อม ลัทธิความสัมพัทธ์นิยม อะไรดี อะไรไม่ดีขึ้นอยู่กับสภาพของสังคมหรือประเพณีวัฒนธรรมนั้น เช่น การเปลี่ยนงาน ลัทธิประโยชน์นิยม ความสุขเป็นความปรารถนาสูงสุดของมนุษย์ การกระทำที่ทำให้เกิดความสุข ถือว่าเป็นจริยธรรมที่ดี

18 มาตรฐานของจริยธรรม : สุภาพร วิศาลบุตร
รายละเอียด 1. มาตรฐานที่ยึดหน้าที่เป็นหลัก บุคคลควรทำหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด ถ้าประพฤติไม่ตรงตามหน้าที่ถือว่าผิดจริยธรรม 2. มาตรฐานที่ยึดความสุขเป็นหลัก การกระทำใดก่อให้เกิดความสุขแก่ตนเองและผู้อื่น ถือว่าเป็นความดี 3. มาตรฐานที่ยึดความอยู่รอดเป็นหลัก ความดีหรือความไม่ดีอยู่ที่การกระทำ ว่าช่วยให้ตนเองและสังคมอยู่รอดได้หรือไม่ 4. มาตรฐานที่ยึดการพัฒนาตามธรรมชาติเป็นหลัก การพัฒนาตามธรรมชาติของมนุษย์เป็นสิ่งดีงาม

19 มาตรฐานของจริยธรรม : ดร.ไชย ณ พล
รายละเอียด 1. หลักประโยชน์นิยม ถือเอาประโยชน์ของการกระทำเป็นหลัก 2. หลักสัจธรรมนิยม การปฏิบัติตามหลักศาสนาถือว่าเป็นสิ่งดีงาม 3. หลักมนุษยธรรมนิยม การกระทำที่เป็นไปเพื่อคุณภาพของมนุษย์เป็นสิ่งดีงาม

20 ระดับของจริยธรรม : สมภพ ชีวรัฐพัฒน์
ระดับของจริยธรรม : สมภพ ชีวรัฐพัฒน์ จริยธรรมระดับศีลธรรม ประพฤติ ปฏิบัติตาม ศีลธรรม กฎหมาย ประเพณี ค่านิยม มารยาทสังคม จริยธรรมระดับ สัจธรรม ปฏิบัติตามหลักของ ศีล สมาธิ ปัญญา

21 ระดับจริยธรรม:สุภาพร พิศาลบุตร
จริยธรรมในชีวิตประจำวัน จริยธรรมในการทำงาน

22 จริยธรรมในการทำงาน 3 ระดับ
มุ่งผลประโยชน์ของตนเป็นใหญ่ 1. การจัดการอย่างไม่มีจริยธรรม การจัดการที่ยึดคุณธรรมจริยธรรมเป็นหลัก 2. การจัดการอย่างมีจริยธรรม การจัดการโดยไม่คำนึงถึงเรื่องศีลธรรม จริยธรรม 3. การจัดการอย่างไม่สนใจในเรื่องของศีลธรรม

23 จริยธรรมทางธุรกิจ 2 ระดับ
จริยธรรมระดับผู้บริหารและผู้ถือหุ้น 1. ระดับองค์กร จริยธรรมระดับพนักงาน 2. ระดับบุคคล

24 The end of chapter 2

25 กิจกรรมท้ายบทเรียน (กิจกรรมที่ 2.1)
ขั้นตอนการปฏิบัติ ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 คน หันหน้าเข้าหากัน ระดมสมองให้เรื่องต่อไปนี้ “กรณีผู้นำประเทศขายบริษัทที่ได้รับสัมปทานจากรัฐของครอบครัวให้แก่ชาวต่างชาติในราคาหลายหมื่นล้านบาทโดยไม่เสียภาษีและอ้างว่าถูกต้องตามกฎหมาย” นักศึกษามีความคิดเห็นต่อกรณีนี้อย่างไรจงอภิปราย นำเสนอพร้อมส่งชิ้นงาน **เต็มที่กับทุกช่วงเวลาของการเรียน**


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดและทฤษฎีจริยธรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google