ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยพรพันธุ์ พันธุเมธา ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
และแผนการศึกษาชาติ ระยะ 15 ปี นักบริหารงานศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย
ยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ ) และแผนการศึกษาชาติ ระยะ 15 ปี นักบริหารงานศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย ดร.ธวัชชัย รัตตัญญู
2
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)
วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ที่มา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
3
กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
3 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
4
4 1. ด้านความมั่นคง
5
2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
5 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
6
3. ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
6 3. ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
7
4. ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม
7 4. ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม
8
5. ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
8 5. ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
9
6. ด้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
9 6. ด้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐ
10
พัฒนาการเด็กปฐมวัยปี 2542 - 2553
พัฒนาการเด็กปฐมวัยปี 10 ช่วงอายุ / ปีที่สำรวจ 2542 2547 2550 2553 1 – 5 ปี พัฒนาการปกติสงสัยล่าช้า 71.7 29.7 71.0 29.0 67.7 32.3 70.3 1 – 3 ปี พัฒนาการปกติสงสัยล่าช้า 78.2 21.8 81.3 19.7 74.9 25.1 71.4 28.6 4 – 5 ปี พัฒนาการปกติสงสัยล่าช้า 62.9 27.1 59.2 41.8 57.9 42.1 68.2 31.8
11
ปี 2555 สำรวจเด็กเกิดปี 2553 กลุ่มตัวอย่าง 1,159 ตัวอย่าง
ปี สำรวจเด็กเกิดปี กลุ่มตัวอย่าง 1,159 ตัวอย่าง 11
12
12
13
13
14
14
15
ระดับ IQ 140 ขึ้นไป อัจฉริยะ 120 – 139 ฉลาดมาก 110 – 119 ฉลาด
15 ระดับ IQ 140 ขึ้นไป อัจฉริยะ 120 – 139 ฉลาดมาก 110 – 119 ฉลาด 90 – 109 ปกติ ถึง ปานกลาง 80 – 89 ปัญญาทึบ 70 – 79 ปัญญาอ่อน ต่ำกว่า 70 ปัญญาอ่อนมาก
16
การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
16 ยุทธศาสตร์ที่ 1. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ I.Q ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน เด็ก 70% E.Q ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน PISA การอ่านเพิ่มเป็น 85% การคลอดในผู้หญิงกลุ่มอายุ ปี ลดลง คดีอาญาลดลง
17
การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 2. การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม 17 แนวทาง เพิ่มโอกาสให้กลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ ต่ำสุด เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพของรัฐ การเข้าถึงการศึกษา บริการด้านสุขภาพ มีที่ดินทำกิน ปรับปรุงระบบจัดเก็บภาษี เพิ่มเบี้ยพิการ และเบี้ยผู้สูงอายุ
18
การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
18 ยุทธศาสตร์ที่ 3. การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร และอาหารเข้าสู่ระบบมาตรฐาน ต่อยอดความเข้มแข็งของอุตสาหกรรม การพัฒนาอุตสาหกรรม เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน ปรับปรุงระเบียบกฎหมาย เพิ่มประสิทธิภาพระบบการเงิน
19
การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
19 ยุทธศาสตร์ที่ 4. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพิ่มพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ 40% การบริหารจัดการน้ำ การคัดแยกขยะ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
20
ร่วมมือด้านความมั่นคงกับนานาประเทศ สังคมมีความสมานฉันท์
20 ยุทธศาสตร์ที่ 5. การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง ยั่งยืน ร่วมมือด้านความมั่นคงกับนานาประเทศ สังคมมีความสมานฉันท์ พร้อมรับมือกับภัยทางทหาร
21
การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกัน การทุจริตประพฤติมิชอบ
21 ยุทธศาสตร์ที่ 6. การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกัน การทุจริตประพฤติมิชอบ ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ปรับปรุงวิธีการงบประมาณ ป้องกันปราบปรามการทุจริต ปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
22
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
22 ยุทธศาสตร์ที่ 7. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ลดการใช้พลังงาน ลดต้นทุนระบบโลจิสติกส์เป็น 12% ขยายโครงข่ายอินเทอร์เน็ตให้ได้ 85% ของหมู่บ้านทั่วประเทศ ขยายกำลังผลิตน้ำประปา
23
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และ นวัตกรรม
23 ยุทธศาสตร์ที่ 8. การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และ นวัตกรรม พัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมการผลิต ส่งเสริมนวัตกรรมการออกแบบ และการจัดการธุรกิจ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการบริหารจัดการ
24
การพัฒนาเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ
24 ยุทธศาสตร์ที่ 9. การพัฒนาเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ ลดช่องว่างรายได้ระหว่างภาค เพิ่มมูลค่าการลงทุน พัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ภาคเหนือ =ฐานเศรษฐกิจมูลค่าสูง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ= หลุดพ้นจากความ ยากจนสู่การพึ่งพาตนเอง ภาคกลาง = ฐานเศรษฐกิจชั้นนำ ภาคใต้ = ฐานการสร้างรายได้ที่หลากหลาย
25
ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา
25 ยุทธศาสตร์ที่ 10. ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา เป็นฐานของการประกอบธุรกิจ การบริการ และการลงทุน ส่งเสริมการลงทุนในต่างประเทศ
26
ฐานของการศึกษา 1. การเรียนเพื่อรู้ 2. การเรียนเพื่อปฏิบัติได้จริง
26 ฐานของการศึกษา 1. การเรียนเพื่อรู้ 2. การเรียนเพื่อปฏิบัติได้จริง 3. การเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกัน 4. การเรียนรู้เพื่อชีวิต
27
แผนการศึกษาแห่งชาติ (2560 – 2574)
27 แผนการศึกษาแห่งชาติ (2560 – 2574) วิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมาย ความคาดหวัง
28
28 วิสัยทัศน์ ให้ความสำคัญกับการสร้างระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นกลไกหลักของการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของทุนมนุษย์ และรองรับการศึกษา การเรียนรู้ และความท้าทายให้เป็นพลวัตรของโลกศตวรรษที่ 21
29
29 จุดมุ่งหมาย การศึกษาเป็นเครื่องมือ /กลไกในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความเป็นพลเมือง (เป็นคนดี มีวินัย เป็นพลเมืองที่ดีและมีคุณภาพของสังคม ประเทศและโลก) มีทักษะ ความรู้ความสามารถและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ (สามารถเรียนรู้ได้ตามความถนัด ความสนใจ) และดำรงชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุข (มีงานทำ มีอาชีพ มีรายได้ รวมทั้งสามารถปรับตัวและดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างรู้เท่าถึงการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคมพหุวัฒนธรรมที่เป็นพลวัตรในโลกศตวรรษที่ 21 ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
30
ที่โรงเรียนต้องเร่งพัฒนาผู้เรียนตามแผนการศึกษาชาติ
30 ทักษะ 7 ประการ ที่โรงเรียนต้องเร่งพัฒนาผู้เรียนตามแผนการศึกษาชาติ (2560 – 2574) 1. ต้องกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ 2. เป็นได้ทั้งผู้นำ ผู้ตามและผู้ช่วยได้ในทุกสถานการณ์ มองประโยชน์ของ องค์กรมากกว่าประโยชน์ตนเอง 3. คิดและทำได้เองโดยไม่ต้องรอคำสั่ง 4. มุ่งมั่นทำงานให้สำเร็จและได้ผลลัพธ์ตามที่ตั้งใจไว้ 5. มีทักษะในการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้จากการศึกษาเข้าสู่การทำงาน 6. ทำงานแบบมืออาชีพ ตรงต่อเวลา มีมารยาทในการทำงาน 7. มีความสามารถในการสื่อสารที่เป็นระบบ มีความสามารถ ภาษาอังกฤษหรือภาษาที่สาม
31
6 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษา
31 6 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษา 1. จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคม ของชาติ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและ นวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้าง สังคมแห่งการเรียนรู้
32
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษา
32 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษา 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความ เท่าเทียมทางการศึกษา 5. จัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหาร จัดการศึกษา
33
เป้าหมายการจัดการศึกษา
33 เป้าหมายการจัดการศึกษา 1.การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา * นักเรียนปฐมวัย (3-5ปี) เพิ่มขึ้น * ประชากรอายุ 6-11 ปี ได้เข้าเรียนระดับประถมศึกษาทุกคน * ประชากรอายุ ปี ได้เรียน ม.ต้นทุกคน * ผู้เรียนพิการได้รับการพัฒนาที่เหมาะสม * แหล่งเรียนรู้ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ * สถานศึกษาทุกแห่งมีอินเทอร์เน็ตที่มีคุณภาพ
34
2. ความเท่าเทียมกันทางการศึกษา
34 2. ความเท่าเทียมกันทางการศึกษา * การเข้าเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามฐานะ ทางเศรษฐกิจ และพื้นที่ มีความเสมอภาค * ผู้เรียนขั้นพื้นฐานได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ทางการศึกษาทุกคน (15 ปี) * เด็กวัยเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับ การสนับสนุน
35
เด็กแรกเกิด-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย 95%
3. คุณภาพการศึกษา 35 เด็กแรกเกิด-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย 95% คะแนน O-NET แต่ละวิชาต้องมากกว่า 50% สถานศึกษามีคุณภาพตามเกณฑ์ประกันคุณภาพเพิ่มขึ้น สถานศึกษาจัดกิจกรรมเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดี 100% การอ่านของคนไทยเพิ่มขึ้น นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมเพิ่มขึ้น ความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษสูงขึ้น
36
4. ประสิทธิภาพทางการศึกษา
36 4. ประสิทธิภาพทางการศึกษา โรงเรียนไม่ผ่านการประเมินลดลง ระบบเครือข่ายดิจิทัลมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาปลอดยาเสพติดเพิ่มขึ้น ครู บุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนา ระบบบริหารงานบุคคลมีประสิทธิภาพ มีฐานข้อมูลด้านการศึกษาและบุคลากร เด็กออกกลางคันลดลง
37
5. การตอบโจทย์ต่อการเปลี่ยนแปลง
37 5. การตอบโจทย์ต่อการเปลี่ยนแปลง อันดับความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น โรงเรียนที่จัด STEM ศึกษา มีเพิ่มขึ้น ผู้จบอาชีวศึกษามีงานทำภายใน 1 ปี เพิ่มขึ้น การมีงานทำของผู้จบอุดมศึกษาเพิ่มขึ้น
38
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.