งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

STOP TB จุฑามาศ โกมลศิริสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "STOP TB จุฑามาศ โกมลศิริสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 STOP TB จุฑามาศ โกมลศิริสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

2 ความรู้สึก เมื่อพูดถึงวัณโรค
กลัว ?

3 กลัวอะไร กลัวติดโรค กลัวว่าเมื่อเป็นแล้วรักษาไม่ หาย...... กลัวตาย

4 มีคนติดเชื้อ วัณโรคแล้ว 22 ล้านคน
ถ้า....ตอนนี้ประเทศไทยมี 66 ล้านคน มีคนติดเชื้อ วัณโรคแล้ว 22 ล้านคน

5 วัณโรค ติดเชื้อวัณโรค เอดส์(170เท่า) ติดเชื้อเอดส์(113เท่า)
โรคอื่นๆเช่น เบาหวาน มะเร็ง กินยากดภูมิ ใช้ยาเสพติด โรคไตรุนแรง น้ำหนักตัวน้อย

6 การติดเชื้อ/การป่วยเป็นวัณโรค
ส่วนมากติดเชื้อวัณโรคแล้ว จะไม่ป่วย ร้อยละ 5 – 10 ป่วยวัณโรค

7 สถานการณ์วัณโรค จังหวัดสุพรรณบุรี

8 แต่ละปีจังหวัดสุพรรณบุรี มีผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ประมาณ 1 พันคน
ผู้ป่วย 10 คน รักษา หาย คน มีผู้โชคร้าย ตาย 1 คน

9 แนวโน้มจำนวน ผู้ป่วย เพิ่ม สูงขึ้นๆ เรื่อยๆ

10 คนติดวัณโรคโดยการ หายใจเอาเชื้อวัณโรคเข้า ไปปอด
ไม่ใช่การกินหรือทางอื่นๆ

11

12

13 เชื้อวัณโรคออกจาก ตัวผู้ป่วยโดย การพูด การไอ การจาม
Speaking Coughing (1.5M) Sneezing (3M)

14 หลังได้รับเชื้อวัณโรคครึ่งหนึ่งจะเป็นโรคภายใน 2 ปี

15

16 เมื่อป่วยแล้วไม่ได้รักษา ประมาณครึ่งหนึ่ง จะเสียชีวิตภายใน 2 ปี
เมื่อป่วยแล้วไม่ได้รักษา ประมาณครึ่งหนึ่ง จะเสียชีวิตภายใน 2 ปี

17 แล้วมีอาการอย่างไรจึงจะนึกถึงวัณโรค
ไอเรื้อรังเกิน 2 สัปดาห์ ไอแล้วมีเลือดปนกับ เสมหะ เจ็บหน้าอก มีไข้ตอนบ่ายๆถึงค่ำ

18

19 มีเหงื่อออกผิดปกติตอน กลางคืน
เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้ำหนักลด มีเหงื่อออกผิดปกติตอน กลางคืน เน้น ไอเรื้อรัง ไข้ ต่ำๆ น้ำหนักตัวลด

20 อยากรู้ว่าเป็นวัณโรคหรือไม่ ไปตรวจที่.......โรงพยาบาล ตรวจได้ทุกโรงพยาบาล

21 ส่งเสมหะส่งตรวจ 3 วัน เอ็กซ์เรย์ปอด

22 วัณโรครักษาหายแน่ ใช้เวลาเพียง 6-8 เดือน

23 การควบคุมกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง

24

25 ดูแล ช่วยเหลือหรือให้กำลังใจผู้ป่วยให้กินยาครบ
ครบทุกเม็ด กินทุกวัน ครบกำหนดการรักษา

26 น้ำหนักตัวผู้ป่วย(kg)
ยารวมเม็ดหลายขนาน น้ำหนักตัวผู้ป่วย(kg) จำนวนเม็ด 30-37 2 เม็ด 38-54 3 เม็ด 55-70 4 เม็ด >71 5 เม็ด

27 ระหว่างกินยาหมั่นสังเกต หมั่นซักถามอาการผิดปกติ
ระหว่างกินยาหมั่นสังเกต หมั่นซักถามอาการผิดปกติ

28 อาการผิดปกติที่ พบจากการกินยาวัณโรค

29 อาการผิดปกติเล็กๆน้อยๆ
คันไม่มีผื่น มีผื่นคันเล็กน้อย ปวดข้อ เจ็บกระเพาะ

30 คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย เบื่ออาหาร
อาการคล้ายไข้หวัด มีอาการชาตามปลายมือ ปลายเท้า

31 รีบไปพบแพทย์ทันที ตาเหลือง ตัวเหลือง ผื่นคันจนผิวหนังลอก
ตามัว ตาบอดกลางคืน

32 ข้อสำคัญ เพื่อการป้องกันการแพร่เชื้อวัณโรคแก่บุคคลรอบข้าง ควรสวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งที่ไอ หรือจาม

33 Respirator—has only tiny pores which block droplet nuclei and relies on an air tight seal around the entire edge Face mask—has large pores and lacks air tight seal around edges

34 การค้นหาผู้มีอาการสงสัยวัณโรคในชุมชน
ใครบ้างที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นวัณโรค ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน โรค ไตวาย ขาดอาหารอย่างรุนแรง ผู้สูงอายุ ผู้อยู่อาศัยร่วมบ้านเดียวกับผู้ป่วยวัณโรค ผู้ติดเชื้อเอดส์/ผู้ป่วยเอดส์ ผู้ต้องขังเรือนจำ

35 คำถามคัดกรองวัณโรค 5 ข้อ
อาการไอติดต่อกันเกิน 2 สัปดาห์ อาการไข้ภายใน 1 เดือน น้ำหนักลดเกิน 5 % ของน้ำหนักตัว ภายใน 1 เดือน เหงื่อออกผิดปกติตอนกลางคืน ต่อมน้ำเหลืองที่คอโตเกิน 2 ซม. มีอาการข้อหนึ่งข้อใดให้ส่งตรวจเสมหะและเอ็กเรย์ปอด

36 ความถี่ในการค้นหา/คัดกรอง
คัดกรองด้วยคำถาม 5 ข้อทุกราย อย่างน้อยทุก 3 เดือน ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ควรติดตามหลัง พบผู้ป่วยต่อไปอีก 2 ปี เราพบ ญาติร่วมบ้านป่วยเป็นวัณโรคภายหลัง พบผู้ป่วยปีกว่า

37 ผู้ที่สงสัยว่าจะเป็นวัณโรคขอให้ส่งเสมหะตรวจหาเชื้อวัณโรคได้ที่โรงพยาบาล
รู้เร็ว รักษาเร็ว จะช่วยลดการแพร่เชื้อรอบตัวเรา และลดผู้ป่วยคนต่อไป ซึ่งอาจเป็นตัวเรา

38 ผลงานการดำเนินงานวัณโรค ย้อนหลัง 3 ปี
จังหวัดสุพรรณบุรี

39 สถานการณ์โรคย้อนหลัง 3 ปี จังหวัดสุพรรณบุรี
ผลสำเร็จการรักษาวัณโรคเสมหะบวก ปี 2553 หน่วยงาน/อำเภอ ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ เมืองสุพรรณบุรี 109 99 90.82 เดิมบางนางบวช 38 34 89.47 ด่านช้าง 45 84.44 บางปลาม้า 23 21 91.30 ศรีประจันต์ 17 80.95 ดอนเจดีย์ 29 79.31 สองพี่น้อง 76 65 85.53 สามชุก 24 82.76 อู่ทอง 58 47 81.03 หนองหญ้าไซ 20 14 70.00 รวมทั้งจังหวัด 448 382 85.26 ระดับจังหวัดในปีที่ผ่านมา 422 351 83.18

40 สถานการณ์โรคย้อนหลัง 3 ปี จังหวัดสุพรรณบุรี
ผลสำเร็จการรักษาวัณโรคเสมหะบวก ปี 2554 หน่วยงาน/อำเภอ ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ เมืองสุพรรณบุรี 93 74 79.57 เดิมบางนางบวช 49 41 83.67* ด่านช้าง 53 38 71.70** บางปลาม้า 29 22 75.86 ศรีประจันต์ 20 90.91 ดอนเจดีย์ 32 26 81.25 สองพี่น้อง 52 46 88.46 สามชุก 23 18 78.26 อู่ทอง 56 47 83.93 หนองหญ้าไซ 21 19 90.48 รวมทั้งจังหวัด 428 350 81.78 ระดับจังหวัดในปีที่ผ่านมา 448 382 85.26

41 สถานการณ์โรคย้อนหลัง 3 ปี จังหวัดสุพรรณบุรี
ผลสำเร็จการรักษาวัณโรคเสมหะบวก งวด 1/2555 หน่วยงาน/อำเภอ ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ เมืองสุพรรณบุรี 28 22 78.57 เดิมบางนางบวช 11 9 81.81 ด่านช้าง 19 17 89.47 บางปลาม้า 6 100 ศรีประจันต์ 8 88.88 ดอนเจดีย์ 4 66.66 สองพี่น้อง 12 7 58.33 สามชุก 5 83.33 อู่ทอง หนองหญ้าไซ รวมทั้งจังหวัด 111 91 81.98

42 “เมืองไทยปลอดวัณโรค”
THE END คำขวัญ วันวัณโรค ปี 2556 “เมืองไทยปลอดวัณโรค”


ดาวน์โหลด ppt STOP TB จุฑามาศ โกมลศิริสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google