ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSuhendra Santoso ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
2
LOGO
3
ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) - ขันธ์ 5 - โลกธรรม 8 - จิต เจตสิก
- ขันธ์ โลกธรรม จิต เจตสิก สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) นิยาม วิตก กรรม 12 มิจฉาวณิชชา อุปาทาน นิวรณ์ 5 ปฏิจสมุปบาท นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) ภาวนา วิมุตติ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) พระสัทธรรม พละ ปาปณิกธรรม 3 อุบาสกธรรม ธิปไตย โภคอาทิยะ 5 ปัญญาธรรม อารยวัฒฑิ ทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 อปริหานิยธรรม 7 - สัปปุริสธรรม วิปัสสนาญาณ 9 ทศพิธราชธรรม มงคล พรหมวิหาร 4 สังคหวัตุ ทิศ อิทธิบาท 4 LOGO
4
อริยสัจ 4 ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ความจริงของอริยบุคคล LOGO
5
1.ทุกข์ ธรรมที่ควรรู้ ความจริงว่าด้วยความทุกข์ - จิต เจตสิก LOGO
1.ทุกข์ ธรรมที่ควรรู้ ความจริงว่าด้วยความทุกข์ - จิต เจตสิก LOGO
6
ขันธ์ 5 1. รูป - ร่างกายส่วนประกอบของชีวิตเป็นสสาร (ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ)
ขันธ์ 5 1. รูป - ร่างกายส่วนประกอบของชีวิตเป็นสสาร (ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ) 2. เวทนา – ความรู้สึก (สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมเวทนา) 3. สัญญา - ความจำได้ 4. สังขาร – สภาพปรุงแต่งจิต (คิดดี คิดชั่ว เป็นกลาง) 5. วิญญาณ- ความรู้แจ้งอารมณ์ในสิ่งต่างๆ ของใจ มี 6 ทาง คือ ตา (จักขุ) หู (โสต) จมูก (ฆานะ) ลิ้น(ชิวหา) กาย (กายะ) ใจ (มโน) LOGO
7
ขันธ์ 5 รูป ขันธ์ 5 รูป ส่วนที่เป็นร่างกาย เวทนา เจตสิก สัญญา นามรูป
รูป ส่วนที่เป็นร่างกาย เวทนา เจตสิก สัญญา นามรูป สังขาร จิต วิญญาณ LOGO
8
จิต ธรรมชาติที่รู้ อารมณ์ ความคิด
จิต เจตสิก จิต ธรรมชาติที่รู้ อารมณ์ ความคิด เจตสิก ธรรมที่ประกอบด้วยจิต คุณสมบัติของจิต เช่น โลภ โกรธ หลง ขันธ์ 5 ก็คือ รูป จิต และเจตสิก นั่นเอง การเกิดขึ้นของจิต (วิญญาณขันธ์) จะเกิดขึ้นโดยไม่มีเจตสิก (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์) นั้นไม่ได้ ลำพังจิตอย่างเดียว ไม่สามารถรับรู้หรือนึกคิดอะไรได้เลย จิตและเจตสิก จะแยกจากกันไม่ได้ ต้องเกิดร่วมกันอิงอาศัยกัน จิตแต่ละดวงที่เกิดขึ้น จะต้องมีเจตสิกประกอบปรุงแต่งด้วยเสมอ LOGO
9
1. กามาวจรภูมิ ภูมิจิตของคนสามัญ
ภูมิชั้นของจิต 1. กามาวจรภูมิ ภูมิจิตของคนสามัญ 2. รูปาวจรภูมิ ภูมิจิตของผู้ที่ฝึกสมาธิมากจนได้รูปฌาน ละจากโลกจะเกิดเป็นรูปพรหม 3. อรูปาวจร ภูมิจิตของผู้ที่ฝึกสมาธิมากจนได้ รูปฌาน ละจากโลกจะได้เกิดในอรูปพรหม 4. โลกุตรภูมิ ภูมิจิตของผู้หมดกิเลส พระอรหันต์ LOGO
10
2.สมุทัย ธรรมที่ควรละ ต้นเหตุแห่งความทุกข์ นิยาม 5 - ปฏิจสมุปบาท
2.สมุทัย ธรรมที่ควรละ ต้นเหตุแห่งความทุกข์ นิยาม 5 - ปฏิจสมุปบาท อุปาทาน 4 - นิวรณ์ 5 LOGO
11
นิยาม 5 กฎเกณฑ์ของสรรพสิ่งทั้งปวง
นิยาม 5 กฎธรรมชาติ 1. อุตุนิยาม ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น อุณหภูมิ ดินฟ้าอากาศ สิ่งแวดล้อม 2. พีชนิยาม พันธุกรรม ผ่านการสืบพันธุ์ 3. จิตนิยาม การทำงานของจิต เจตสิก 4. กรรมนิยาม กฎแห่งกรรม กฎแห่งการกระทำและผลของการกระทำ 5. ธรรมนิยาม (General Laws) อันได้แก่กฎไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา LOGO
12
ปฏิจจสมุปบาท การเกิดขึ้นพร้อมกันแห่งธรรมทั้งหลาย
1.หลักทั่วไป เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ก็ไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้ก็ดับ LOGO
13
ปฏิจจสมุปบาท การเกิดขึ้นพร้อมกันแห่งธรรมทั้งหลาย
2.หลักประยุกต์ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี LOGO
14
นิวรณ์ 5 สิ่งกีดกั้นจิตไม่ให้ประกอบความดี
นิวรณ์ สิ่งกีดกั้นจิตไม่ให้ประกอบความดี นิวรณ์มี 5 (สิ่งกีดขวางจิตไม่ให้บรรลุความดี) 1. กามฉันทะ ความพอใจ ติดใจ หลงใหลในกาม 2. พยาบาท คิดร้าย เคืองแค้น 3. ถีนมิทธะ หดหู่ เซื่องซึม ง่วงเหงาหาวนอน ความขี้เกียจ 4. อุทธัจจะกุกกุจจะ ความคิดซัดส่าย ฟุ้งซ่าน ไม่สงบนิ่ง 5. วิจิกิจฉา ความไม่แน่ใจ ลังเลใจ สงสัย กังวล กล้า ๆ กลัว ๆ ไม่เต็มที่ ไม่มั่นใจ LOGO
15
นิวรณ์ 5 1.กามฉันท์ ความรักสวยรักงาม พยายามกำหนดว่าไม่งาม
หัดมองเห็น โทษของความงาม 2.พยาบาท ความกระทบกระทั่งแห่งจิตให้หัดเจริญเมตตา แผ่ความรัก ความปรารถนาดี 3.ถีนมิทธะ ความไม่ยินดี เกียจคร้าน ปลุกใจให้เกิดความขยันขันแข็ง รู้จักการบริโภคอาหาร 4.อุทธัจจกุกกุจจะ การที่ใจไม่สงบพยายามทำใจให้สงบ หัดทำใจ เป็นสมาธิ 5.วิจิกิจฉา การพิจารณาโดยไม่แยบคาย ใช้โยนิโสมนสิการ พิจารณา ให้รอบคอบ จนรู้สาเหตุแห่งความสงสัย LOGO
16
อุปาทาน 4 ความยึดมั่น ถือมั่น ที่เกิดจากกิเลส ตัณหา
อุปาทาน 4 ความยึดมั่น ถือมั่น ที่เกิดจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน 4 คือ ลักษณะของความยึดมั่น ติดในสภาวะของบุคคล 1. กามุปาทาน คือ ความยึดมั่นในกาม 2. ทิฏฐุปาทาน คือ ความยึดมั่นในทิฐิ 3. สีลัพพตุปาทาน คือ ความยึดมั่นในศีลและพรต 4. อัตตาวาทุปาทาน คือ ความยึดมั่นในตัวตน LOGO
17
3.นิโรธ ธรรมที่ควรบรรลุ
3.นิโรธ ธรรมที่ควรบรรลุ ดับทุกข์ นิพพาน LOGO
18
นิพพาน สภาวะที่ปราศจากทุกข์ โดยสิ้นเชิงดับ โลภ โกรธ หลง
นิพพาน สภาวะที่ปราศจากทุกข์ โดยสิ้นเชิงดับ โลภ โกรธ หลง ผู้บรรลุนิพพาน เรียกพระอรหันต์ LOGO
19
4.มรรค ธรรมที่ควรเจริญ - สาราณียธรรม 6 - วิปัสสนาญาณ 9 ทศพิธราชธรรม
4.มรรค ธรรมที่ควรเจริญ ทางปฏิบัติให้ถึงการดับทุกข์ - สาราณียธรรม 6 - วิปัสสนาญาณ 9 ทศพิธราชธรรม LOGO
20
สาราณียธรรม 6 หลักการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสามัคคี
สาราณียธรรม 6 หลักการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสามัคคี 1.เมตตากายกรรม ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 2.เมตตาวจีกรรม การมีวาจาดีต่อกัน 3.เมตตามโนกรรม การคิดดีต่อกัน ไม่มุ่งร้าย 4.สาธารณโภคี การแบ่งสิ่งของให้กันและกัน 5.สีลสามัญญตา ความประพฤติสุจริตดีงาม 6ทิฎฐิสามัญญตา มีความเห็นชอบร่วมกัน LOGO
21
สาราณียธรรม 6 หลักการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสามัคคี
สาราณียธรรม 6 หลักการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสามัคคี ๑. เมตตามโนกรรม ๒. เมตตาวจีกรรม ๓. เมตตากายกรรม ๔. สาธารณโภคี ๕. สีลสามัญญตา ๖. ทิฏฐิสามัญญตา การคิดดี การมองในแง่ดี มีความหวังดีและปรารถนาดีต่อกัน การพูดแต่สิ่งที่ดีงาม พูดกันด้วยความรักความปรารถนาดี การทำความดีต่อกัน สนับสนุนช่วยเหลือกันทางด้านกำลังกาย การรู้จักแบ่งปันผลประโยชน์กันด้วยความยุติธรรม การปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับหรือวินัยต่างๆ มีความคิดเห็นเป็นอย่างเดียวกัน คิดในสิ่งที่ตรงกัน LOGO
22
ทศพิธราชธรรม คุณธรรมของ นักปกครอง10 ประการ
ทศพิธราชธรรม คุณธรรมของ นักปกครอง10 ประการ 1.การให้ (ทาน) การสละทรัพย์สิ่งของ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกของหมู่คณะ 2.การตั้งอยู่ในศีล (ศีล) มีความประพฤติดี 3.การบริจาค(ปริจจาคะ) การเสียสละความสุข 4.ความซื่อตรง (อาชวะ) เป็นผู้ทรงสัตย์ 5.ความอ่อนโยน(มัทวะ) มีกิริยาสุภาพ LOGO
23
ทศพิธราชธรรม คุณธรรม ของนักปกครอง10 ประการ
ทศพิธราชธรรม คุณธรรม ของนักปกครอง10 ประการ 6. ความมีตบะ (ตบะ) การแผดเผากิเลสตัณหา 7. ความไม่โกรธ(อักโกธะ) มีจิตใจมั่นคง 8. ความไม่เบียดเบียน (อวิหิงสา) ไม่กดขี่ข่มเหง 9. ความอดทน(ขันติ) สามารถเผชิญความลำบาก 10. ความไม่คลาดธรรม(อวิโรธนะ) ตั้งมั่นในธรรม LOGO
24
วิปัสสณาญาณ 9 ความรู้ที่ทำให้เกิดการเห็นแจ้ง
วิปัสสณาญาณ ความรู้ที่ทำให้เกิดการเห็นแจ้ง 1) อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ รู้และเห็นว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจะต้องดับ 2) ภังคานุปัสสนาญาณ เห็นว่าสังขารทั้งหลายจะต้องแตกสลาย 3) ภยตูปัฎฐานญาณ เห็นสังขารว่าเป็นของน่ากลัว 4) อาทีนวานุปัสสนาญาณ สังขารทั้งปวงเป็นโทษ 5) นิพพิทานุปัสสณาญาณ เห็นสังขารว่าเป็นโทษก็เกิดความหน่าย 6) มุญจิตุกัมยตาญาณ ปรารถนาจะพ้นจากสังขาร 7) ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ หาทางปลดเปลื้องจากสังขารเหล่านั้น 8) สังขารุเปกขาญาณ ไม่ยินดียินร้ายในสังขาร 9) สัจจานุโลมิกญาณ เกิดญาณอันคล้อยต่อการรู้อริยสัจ LOGO
25
Thank You !
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.