ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJessie Shelton ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile) PCT กุมารเวชกรรม โรงพยาบาลแหลมฉบัง
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561
2
พันธกิจ/ความมุ่งหมายของ CLT/PCT
1. กำหนดทิศทาง ชี้นำ มองภาพรวมในการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยของโรงพยาบาล รวมทั้งค้นหาโอกาสในการพัฒนา กำหนดกลุ่มโรค รายโรคที่จะเป็นเป้าหมายในการพัฒนา ครอบคลุม Care Process และกำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์รายโรคครอบคลุม 4 มิติและมิติคุณภาพ 2. ดำเนินการค้นหา ประเมิน แก้ไข/ป้องกันความเสี่ยงทางคลินิกที่เกิดขึ้น ใช้แนวคิดการบริหารความเสี่ยง และใช้กิจกรรมทบทวนเป็นประจำ 3. ช่วยเหลือ ประสานความร่วมมือ/สนับสนุนทรัพยากรในการพัฒนากระบวนการดูแลแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วย 4. ประเมินและติดตาม ผลการพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยทั้งกลุ่มโรค/ รายคน กระบวนการดูแลความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ค้นหาโอกาสพัฒนาจากการทบทวนเมื่อมีอุบัติการณ์และปรับปรุงตามปัญหาที่ได้จากการทบทวนและตัวชี้วัดไม่บรรลุเป้าหมาย
3
ขอบเขตบริการ(ต่อ) กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน
มีกุมารแพทย์ให้คำปรึกษาตลอด 24 ชั่วโมง ผู้ป่วยใน หอผู้ป่วยเด็ก มีเตียงสามัญ 20 เตียง ห้องแยกโรค 1 ห้อง (2 เตียง) NICU 2 เตียง ทารกแรกเกิดป่วย 2 เตียง หอผู้ป่วยพิเศษ รับผู้ป่วยกุมารเวชกรรม และผู้ป่วยอื่นๆจำนวน 12 ห้อง การดูแลต่อเนื่อง มีระบบการส่งต่อข้อมูลตลอด 24 ชั่วโมง ผ่านระบบ smart COC หน่วยงานปฐมภูมิรับผิดชอบเยี่ยมบ้าน ในชุมชนทุกวันในพื้นที่รับผิดชอบ และมีการส่งต่อพื้นที่บริการระดับปฐมภูมิของเครือข่าย รพ.แหลมฉบังทุกแห่งและศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลแหลมฉบัง จำนวน 3 แห่ง
4
ขอบเขตบริการ บริการตรวจรักษาโรคทางกุมารเวชกรรมในผู้ป่วยแรกเกิด ถึง น้อยกว่า 15 ปี ทั้งผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน ผู้ป่วยใน ประสานการส่งต่อในศักยภาพสูงกว่า และประสานการดูแลต่อเนื่องลงชุมชน การจัดการให้บริการเพื่อให้เข้าถึงบริการในระยะเวลาที่เหมาะสม มีการจัดบริการดังนี้ ผู้ป่วยนอก คลินิกกุมารเวชกรรม วันจันทร์ – ศุกร์ เปิดให้บริการเวลา – น. หลังจากนั้นใช้ระบบ Consult ตลอด 24 ชั่วโมง วันอังคาร คลินิกกระตุ้นพัฒนาการเด็ก เปิดให้บริการเวลา – น. วันอังคาร คลินิกระบบทางเดินหายใจ เปิดให้บริการเวลา – น. วันอังคาร คลินิกสุขภาพเด็กดี เปิดให้บริการเวลา – น. วันพุธ คลินิกเด็กสมาธิสั้น เปิดให้บริการเวลา – น. วันพุธ คลินิกธาลัสซีเมีย เปิดให้บริการเวลา – น.
5
ผู้รับบริการและความต้องการ
ความต้องการ ( Costumer Need ) ผู้รับบริการและญาติ ถูกต้อง & ปลอดภัย - ได้รับการตรวจวินิจฉัย การดูแลรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐานวิชาชีพ - หายจากการเจ็บป่วย และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน - ได้รับความปลอดภัยจากการมารับการตรวจรักษา/ขณะนอนโรงพยาบาล รวดเร็ว - ต้องการความรวดเร็ว สะดวกในการตรวจรักษา และบริการอื่นๆ - ไม่ต้องรอนาน ได้รับการตรวจในเวลาที่เหมาะสม ข้อมูล - ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการรักษา โรคที่เป็น การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเมื่อเป็นโรคทั้งขณะที่อยู่ รพ.และเมื่อกลับบ้าน - ต้องการข้อมูลที่เป็นทางเลือกในการรักษาเมื่อมีวิธีการรักษาที่มากกว่า 1 ทาง สิทธิผู้ป่วย - ต้องการทราบชื่อ ตำแหน่ง หน้าที่ของผู้ให้บริการ - การรักษาที่เท่าเทียมกัน
6
ผู้รับบริการและความต้องการ
ความต้องการ ( Costumer Need ) ผู้รับบริการและญาติ พฤติกรรมบริการ - ต้องการได้รับบริการจากเจ้าหน้าที่ด้วยความเต็มใจ ยิ้มแย้ม ดูแลช่วยเหลือทันทีเมื่อมีปัญหา - ต้องการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด หน่วยงานภายนอก - ได้รับข้อมูลผู้ป่วยที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง - สามารถตรวจสอบการรักษาได้ - ได้รับการดูแลรักษาตามมาตรฐาน - การติดต่อประสานงานที่ดีของเจ้าหน้าที่ - เจ้าหน้าที่ทุกคนมีพฤติกรรมบริการที่เต็มใจให้บริการ
7
ผู้รับบริการและความต้องการ ผู้ร่วมงานในโรงพยาบาล
ความต้องการ ( Costumer Need ) ผู้ร่วมงานในโรงพยาบาล - มีการสื่อสาร ประสานงานด้วยความเป็นกัลยาณมิตร มีประสิทธิภาพ - การได้รับข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจน - มีการทำงานร่วมกันเป็นทีมอย่างเป็นระบบ - ปฏิบัติตามนโยบาย และระเบียบการปฏิบัติของหน่วยงาน จุดเน้นของการพัฒนา - กระบวนการดูแลผู้ป่วย DM, Pneumonia แบบครบวงจร - พัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย DSS และ sepsis
8
กลุ่มผู้ป่วยสำคัญของ CLT/PCT
โรค High risk High cost/ Long LOS High volume New evidence/ technology Complex care Pneumonia 5 4 4 /21 Preterm 3 4/21 DHF 4/19 Sepsis febrile convulsion 3/16 AGE 2 3/15 Hyperbilirubinemia 3/13 Thalassemia 2/13 DM 1 2/11
9
ตัวชี้วัดของ CLT/PCT ตามมิติคุณภาพ
โรค Access Continuity Appropriate Effective Efficient Safe People-centered Health promotion Pneumonia ร้อยละของผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบที่ใส่ท่อช่วยหายใจได้รับการส่งต่อโรงพยาบาลศูนย์ตามระบบ Fast track - อัตราการเกิด Unplan Tube ในเด็กโรคปอดอักเสบ - อัตราการเกิด Sepsis AGE อัตราการ Readmit ด้วย AGE febrile convulsion อัตราการชักขณะรอตรวจ - อัตราการชักซ้ำในหอผู้ป่วย -อัตราการ Readmit ด้วย febrile convulsion DHF อัตราการส่งต่อของเด็กโรคไข้เลือดออก อัตราการเกิด DSS ในหอผู้ป่วย Sepsis อัตราการเกิด Unplan Death ในเด็ก Sepsis
10
ตัวชี้วัดของ CLT/PCT ตามมิติคุณภาพ
โรค Access Continuity Appropriate Effective Efficient Safe People-centered Health promotion Hyperbilirubinemia ร้อยละของทารกที่ได้รับการคัดกรองภาวะตัวเหลืองก่อนกลับบ้าน จำนวนวันนอนเฉลี่ยของของทารกตัวเหลือง อัตราการ Readmit ในทารกตัวเหลือง Preterm อัตราการตอบกลับการส่งเยี่ยมบ้าน -อัตราการ Refer ในทารกคลอดก่อนกำหนด น้ำหนัก 1,000 – 1,500 กรัม - อัตราการ Readmit ของทารกแรกคลอดก่อนกำหนด DM ร้อยละของเด็กที่มาด้วย DKA และ DM - ร้อยละของการ Readmit ในเด็กโรคเบาหวาน - อัตราการส่งเยี่ยมบ้านชองเด็กโรคเบาหวาน - ร้อยละของเด็กแรกเกิดจากมารดา CGM ได้รับการคัดกรอง - ร้อยละของกลุ่มเสี่ยง DM ได้รับคัดกรอง อัตราการตอบกลับการส่งเยี่ยมบ้าน ของเด็กโรคเบาหวาน ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
11
ความเสี่ยงและมาตรการป้องกัน โรคหรือกระบวนการที่เกี่ยวข้อง
คัดกรองล่าช้า คัดกรองได้เฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการหนัก วินิจฉัยล่าช้า การได้ Antibiotic ไม่ทัน 1 ชั่วโมง ให้สารน้ำและ Vasopressure ล่าช้า ขาดการเฝ้าระวังและการดูแลผู้ป่วยที่เข้าสู่ภาวะวิกฤติอย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้ SIR ในการคัดกรอง ให้ความรู้แก่แพทย์ใช้ทุน ให้ความรู้แก่พยาบาลจบใหม่ และ ตามนิเทศงานอย่างสม่ำเสมอ พัฒนาระบบการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการตรวจวินิจฉัย(Blood lactate) Sepsis/Septic Shock ชักจากไข้สูงขณะรอตรวจ ชักซ้ำในหอผู้ป่วย OPD - ถ้าซักประวัติว่ามีไข้ อายุต่ำกว่า 6 ปี วัดไข้ทันที - ในเด็กที่พบว่ามีไข้สูง 39 ํC ขึ้นไป ให้คิวด่วน - ถ้าไข้ เช็ดตัวและวัดไข้หลังเช็ดตัวทันที จัดทำแนวทางการจัดการไข้ใน OPD - คัดกรองประวัติการชักจากไข้สูง และประวัติการชักในครอบครัว ในเด็กที่มาด้วยไข้ -จัดทำแนวทางการจัดการไข้ใน OPD Ward - จัดทำแนวทางการจัดการไข้ในหอผู้ป่วยเด็ก febrile convulsion
12
ความเสี่ยงและมาตรการป้องกัน โรคหรือกระบวนการที่เกี่ยวข้อง
Un plan tube จัดทำ CPG, CNPG โรคปอดอักเสบในเด็ก จัดทำแบบประเมินภาวะหายใจล้มเหลวในเด็กโรคทางเดินหายใจ เพื่อให้สามารถตัดสินใจใส่ท่อช่วยหายใจได้เร็วขึ้น ให้ความรู้แก่แพทย์ใช้ทุน ให้ความรู้แก่ทีมพยาบาลและมีการนิเทศงานอย่างต่อเนื่อง ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่หน่วยปฐมภูมิ และหน่วยงานในเครือข่าย จัดซื้อเครื่องช่วยหายใจ O2 high flow Pneumonia DSS ก่อนมาโรงพยาบาล เกิด DSS ในหอผู้ป่วย Delay Diagnosis Unplan Refer จัดทำ CPG, CNPG ไข้เลือดออก จัดหาอุปกรณ์ตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการวินิจฉัย มีระบบการรายงานกุมารแพทย์ตลอด 24 ชั่วโมง DSS
13
Proxy Disease กับคุณภาพของขั้นตอนต่างๆ ในกระบวนการดูแล
โรค มาตรการ/นวตกรรม เพื่อให้เกิดคุณภาพ Access & entry Sepsis, pneumonia, BBA, preterm จัดทำ CPG Pneumonia ,ปรับปรุง CPG DHF ,จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วย Sepsis และการขยายเครือข่ายการดูแลลงสู่ชุมชน Assessment Sepsis, pneumonia, Hyperbilirubenimia, febrile convulsion จัดทำ CPG Pneumonia ,ปรับปรุง CPG DHF , แนวทางการดูแลผู้ป่วย Sepsis ,CPG Hyperbilirubenimia และCPG Febrile Convulsion Plan of care Sepsis, Pneumonia จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วย Sepsis ,จัดทำ CPG Pneumonia Discharge planning DM, Preterm จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วย DM, Preterm General Care Care of high risk จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วย Sepsis ,CPG Pneumonia Anes & procedure Nutrition Rehabilitation Information&empower Septic shock, febrile convulsion, DM แนวทางการดูแลผู้ป่วย Sepsis , DM ,CPG Febrile Convulsion และ Preterm การส่งต่อข้อมูลสู่ชุมชน ด้วยโปรแกรม Smart COC Continuity of care การส่งต่อข้อมูลสู่ชุมชน ด้วยโปรแกรม Smart COC
14
การพัฒนาคุณภาพ การวิจัย นวตกรรม การพัฒนา การวิจัย นวตกรรม
เรื่อง เป้าหมาย การพัฒนา การวิจัย นวตกรรม ผลลัพธ์ พัฒนาแบบประเมินภาวะหายใจล้มเหลวในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ -ลดอัตราการเกิด Unplan ETT จาก Respiratory Failure -ลดอัตราการเกิด Unplan Death ในผู้ป่วย Pneumonia ในปี 2560 ใช้แบบประเมินภาวะหายใจล้มเหลวในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ ปี 2561 พัฒนาใช้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจทุกโรค ในปี 2560 และ ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิตด้วย โรค Pneumonia ในปี 2561 Refer ผู้ป่วยในโรค Severe Pneumonia with Down’s Syndrome ที่เสี่ยงต่อภาวะ Respiratory Failure จำนวน 2 ราย
15
ข้อมูลคุณภาพของแต่ละโรค/หัตถการ (Clinical Tracer, Clinical Quality Summary
16
เป้าหมาย ปัจจัยขับเคลื่อน ตัวชี้วัด (Purpose, Driver Diagram, & Indicator)
Primary Drivers Secondary Drivers Interventions/Change Idea - นำเข้าการตรวจ Dengue NS1Ag , IgG, IgM .ใช้กับผู้ป่วยที่สงสัยทุกราย - ทำ TT Test ทุกราย วินิจฉัยได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว ไม่เกิด DSS - จัดทำ CPG ไข้เลือดออก - ให้ความรู้แพทย์ใช้ทุน - ระบบ consult กุมารแพทย์ - เตรียม Dextran พร้อมใช้ภายใน 15 นาที - คัดแยกผู้ป่วย High Risk เป้าหมาย: เด็กโรคไข้เลือดออก หายจากโรค และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ให้การรักษาอย่างถูกต้อง เหมาะสมภายใน 60 นาที - จัดทำ CNPG ไข้เลือดออก - ให้ความรู้ทีมพยาบาล - ระบบการรายงานแพทย์ - จัดโซนสำหรับผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวังพิเศษ การเฝ้าระวังผู้ป่วยตามระยะของโรค ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
17
Process Flowchart ของการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
Discharge นัด F/U Walk in Refer จากชุมชน Admit ดูแลรักษาตาม CPG,CNPG ตรวจประเมินอาการ Refer F/U อาการไม่รุนแรง แจ้งสอบสวนโรค รายงาน สสจ. ลงชุมชน
18
การจัดการกระบวนการ (Process Management) DHF
ข้อกำหนดของกระบวนการ ตัวชี้วัดของกระบวนการ การออกแบบกระบวนการ กระบวนการรักษา ป้องกัน Prolong shock -อัตราของการเกิด Prolong shock -อัตราของผู้ป่วย DSS ได้รับการประเมินและแก้ไขภายใน 1 ชั่วโมง -จัดทำ CPG /CNPG ไข้เลือดออก ในการดูแลผู้ป่วย -ปฐมนิเทศแพทย์เพิ่มพูนทักษะ เกี่ยวกับการใช้ CPG การวินิจฉัย ผู้ป่วยปลอดภัย -อัตราการเกิด Unplan Refer ใน DHF -อัตราการเสียชีวิตใน DHF -ปรับการเฝ้าระวังและ Reassessment ด้วย Dengue chart ให้สามารถ monitor ได้ไวแบบ early warning และ clinical risk ใส่ใน chart ผู้ป่วยที่สงสัยไข้เลือดออกทุกราย ประกอบด้วย warning change of HCT -กำหนดให้ consult กุมารแพทย์ 24 ชม. -จัด Zoning DHF ในหอผู้ป่วย -ติดป้าย bleeding Precaution ที่หน้าเตียง -Case revisit ญาติขอนอนโรงพยาบาลและผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงเช่น อายุน้อยกว่า 1 ปี เด็กผอม เด็กอ้วน มีโรคประจำตัว Admit ทุกราย
19
ผลลัพธ์และการพัฒนาที่ผ่านมา (Performance & Interventions)
ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2558 2559 2560 2561 การเกิด DSS ในหอผู้ป่วย NA 3 15 อัตราการเกิด Prolong Shock 1 อัตราการเสียชีวิตใน DHF อัตราการเกิด Unplan Refer ใน DHF 2 ร้อยละของผู้ป่วย DSS ได้รับการประเมินและแก้ไขภายใน 1 ชั่วโมง 80 100 66.6 ปี 2561 พบว่ามีผู้ป่วย Prolong shock 1 ราย จากการวินิจฉัยล่าช้า จีงได้มีปรับปรุง CPG DHF และแพทย์ Staff ให้ความรู้แก่แพทย์เพิ่มพูนทักษะและพยาบาล และมีการปรับการเฝ้าระวังและการประเมินซ้ำ การทำ I/O หลังการปรับปรุงพบว่า ยังพบผู้ป่วย septic shock with Thalassemia with DF 1 ราย ใส่ ET tube Refer โรงพยาบาลชลบุรี และปรับให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น อายุน้อยกว่า 1 ปี เด็กอ้วน เด็กผอม มีโรคประจำตัว Admit ทุกราย และจัดทำ Flow sepsis ในผู้ป่วยเด็ก
20
แผนการพัฒนาต่อเนื่อง
- มีการพัฒนาระบบการrefer อย่างมีประสิทธิภาพ
21
Driver Diagram Purpose Primary Drivers Secondary Drivers
Interventions/Change Idea - จัดทำ CPG Pneumonia - ให้ความรู้แพทย์เพิ่มพูนทักษะ - consult กุมารแพทย์ทุกรายใน case Severe Pneumonia -ระบบ Fast track - กำหนด Early Warning Signs - กำหนดผู้ป่วยกลุ่มเสียงสูง เช่น เด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี มีโรคประจำตัว วินิจฉัย และรักษาได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และส่งต่ออย่างเหมาะสมในราย High risk ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมกับความรุนแรง และได้รับการส่งต่ออย่างทันทีในราย High risk ประเมินระดับความรุนแรงได้อย่างถูกต้อง เป้าหมาย: ไม่เกิด Unplan Death Unplan Refer ในเด็กโรคปอดอักเสบ Indicator ร้อยละการเกิด Unplan ETT จาก Respiratory Failure จัดทำแบบประเมินภาวะการหายใจล้มเหลวในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจในเด็ก Indicator ร้อยละการตายผู้ป่วย Pneumonia การเฝ้าระวังผู้ป่วยตามระยะของโรค ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน -จัดทำ CNPG Pneumonia -ให้ความรู้ทีมพยาบาล -ระบบการรายงานแพทย์
22
Process Flowchart ของการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ
Refer ในรายที่อาการรุนแรง และ High Risk กรณี Respiratory Failure On ETT Walk in -คัดกรองตาม Criteria/ประเมินซ้ำ -Intern รายงาน Staff ในราย Severe Pneumonia ดูแลรักษาตาม CPG, CNPG ตรวจประเมินอาการ ER Admit Refer ส่งต่อจากชุมชน ทุเลา ทุเลา อาการทรุดลง ส่ง ER -D/C -Advice -นัด F/U -รับยา สนับสนุนการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในรายที่เป็นกลุ่มเสี่ยง OPD Discharge รอตรวจ ส่งเยี่ยมบ้านในรายที่มี Complication คัดกรองตาม Criteria/ประเมินซ้ำ
23
การจัดการกระบวนการ (Process Management) Pneumonia
ข้อกำหนดของกระบวนการ ตัวชี้วัดของกระบวนการ การออกแบบกระบวนการ การเข้าถึงบริการและการประเมินผู้ป่วย วินิจฉัยรวดเร็วถูกต้องและแม่นยำ -อัตราผู้ป่วย Pneumonia ที่ใส่ท่อช่วยหายใจได้รับการส่งต่อตามระบบ Fast Track -อัตราผู้ป่วย Pneumonia ใช้แบบประเมินภาวะหายใจล้มเหลวในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ -จัดทำ CPG Pneumonia - Consult กุมารแพทย์ทุกรายใน case Severe Pneumonia -กำหนด Early Warning Signs สำหรับพยาบาลในการสังเกตอาการและรายงานแพทย์ได้อย่างเหมาะสมและรวดเร็ว -กำหนดผู้ป่วยกลุ่มเสียงสูง เช่น เด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี มีโรคประจำตัว -ให้ความรู้แพทย์เพิ่มพูนทักษะ -ระบบ Fast track -การรักษา -การวางแผนต่อเนื่อง -รักษาครอบคลุมผู้ป่วยปลอดภัย ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน -ลดอัตราการเกิด Aspirate Pneumonia ในผู้ป่วยกลุ่มเสียงสูง -อัตราการเกิด Unplan ETT จาก Respiratory Failure -อัตราการเกิด Unplan Death ในผู้ป่วย Pneumonia -ประเมินภาวะการหายใจล้มเหลวในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจในเด็ก -ให้ความรู้แพทย์เพิ่มพูนทักษะ พยาบาล -วางแผนจำหน่ายและประสาน COC ใน case Severe Pneumonia และกลุ่มเสี่ยง
24
ผลลัพธ์และการพัฒนาที่ผ่านมา (Performance & Interventions) Pneumonia
ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2558 2559 2560 2561 อัตราผู้ป่วย Pneumonia ที่ใส่ท่อช่วยหายใจได้รับการส่งต่อตามระบบ Fast Track 100 อัตราผู้ป่วย Pneumonia ใช้แบบประเมินภาวะหายใจล้มเหลวในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ NA 58 จำนวนการเกิด Unplan ETT จาก Respiratory Failure 8 5 4 จำนวนการเกิด Unplan Death ในผู้ป่วย Pneumonia 7 - ผลการวิเคราะห์ ปี 2558 พบมีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วย Pneumonia จำนวน 8 ราย ปี 2559 จำนวน 7 ราย ปี 2560 จึงพัฒนา CPG Pneumonia และทำ CQI แบบประเมินภาวะหายใจล้มเหลวในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ มีเครื่องช่วยหายใจแรงดันสูง กำหนด Early Warning Signs สำหรับพยาบาลในการสังเกตอาการและรายงานแพทย์ได้อย่างเหมาะสมและรวดเร็ว กำหนดผู้ป่วยกลุ่มเสียงสูง เช่น เด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี มีโรคประจำตัว มีเครือข่าย Fast track ทำให้ปี 2560 และ ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วย Pneumonia
25
แผนการพัฒนาต่อเนื่อง
พัฒนาการการดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ แรงดันสูงในผู้ป่วยกึ่งวิกฤต
26
เป้าหมาย ปัจจัยขับเคลื่อน ตัวชี้วัด (Purpose, Driver Diagram, & Indicator)
Primary Drivers Secondary Drivers Interventions/Change Idea ปรับเกณฑ์ Triageและ Training พยาบาล วินิจฉัยรวดเร็วและแม่นยำ Early Detect staff สอนแพทย์เพิ่มพูนทักษะก่อนปฏิบัติงาน นำ SIRS มาใช้ กำหนดกลุ่มเสี่ยงส่ง รพสต.และ Care Giverในชุมชนเฝ้าระวัง ลดอัตราการเสียชีวิต ได้รับการรักษาครอบคลุม CPG Sepsis ระบบการ Refer ที่มีประสิทธิภาพ Severe Sepsis/ Shock Indicator -อัตราการได้รับ LRS 20 ml/kg in 20 นาที (3 dose) -อัตราการได้รับ ATB ใน1 hr. นับจากเวลาที่ได้รับการวินิจฉัย -อัตราการเจาะ H/C ก่อนได้รับATB -อัตราการ refer ในผู้ป่วย Severe Sepsis/ Shock Medication consult กุมารแพทย์ ก่อนให้ ATB Sepsis Bundle Antibiogram Monitoring อบรมเพิ่มสมรรถนะให้แก่เจ้าหน้าที่ กำหนด Zoning - การเจาะ H/C - ให้ความรู้ทีมผู้ดูแล - การล้างมือ - Isolation Precaution ระบบป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
27
Process Flowchart ของการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด
ส่งต่อจากชุมชน ตรวจ ประเมินอาการ Walk in Discharge นัด F/U เข้าเกณฑ์ตาม แบบประเมิน การรักษาเร่งด่วนที่ ER ดูแลรักษาตาม CPG, CNPG Admit Refer Refer ติดตามอาการ
28
การจัดการกระบวนการ (Process Management)Sepsis
ข้อกำหนดของกระบวนการ ตัวชี้วัดของกระบวนการ การออกแบบกระบวนการ การเข้าถึงบริการและการประเมินผู้ป่วย วินิจฉัยถูกต้องและรวดเร็ว -อัตราการ Delay diagnosis -อัตรา Miss diagnosis -แพทย์ staff สอนแพทย์เพิ่มพูนทักษะก่อนปฏิบัติงาน -ผู้ป่วย severe sepsis septic shock consult staff ทุก case เพื่อการรักษาและพิจารณา refer -ใช้เครื่องมือช่วยคัดกรองผู้ป่วย เช่น SIRS -อบรมให้ความรู้พยาบาล Triage ER OPD IPD -กำหนดโรคกลุ่มเสี่ยงที่อาจเกิดภาวะ Sepsis เช่น preterm Thalassemia และผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว - กำหนด Early Warning Signs การรักษา รักษาครอบคลุมผู้ป่วยปลอดภัย ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน -อัตราการ Unplan Refer ใน Sepsis -อัตรา Unplan Death ใน Sepsis -อัตราการได้รับ LRS 20 ml/kg in 20 นาที (3 dose) -อัตราการได้รับ ATB ใน1 hr. นับจากเวลาที่ได้รับการวินิจฉัย -อัตราการเจาะ H/C ก่อนได้รับATB -อัตราการ refer ในผู้ป่วย Severe Sepsis/ Shock -จัดทำ CPG sepsis -สื่อสารภายในทีมดูแลผู้ป่วย -จัดZoning ในการดูแลผู้ป่วย sepsis -จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นในการดูแลผู้ป่วย เช่น Monitor EKG NIBP Infusion pump
29
ผลลัพธ์และการพัฒนาที่ผ่านมา (Performance & Interventions)
ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2558 2559 2560 2561 อัตราการ Delay diagnosis NA 100 อัตรา Miss diagnosis อัตราการ Unplan Refer ใน Sepsis อัตรา Unplan Death ใน Sepsis วิเคราะห์ ปี 2561 พบว่ามีผู้ป่วย DF with Thalassemia with Septic Shock 1 ราย ใส่ ET tube Refer โรงพยาบาลชลบุรี จากการวินิจฉัยล่าช้า จีงจัดทำ Flow Sepsis ในผู้ป่วยเด็ก แพทย์ Staff ให้ความรู้แก่แพทย์เพิ่มพูนทักษะให้วินิจฉัยโรค และกำหนด Early Warning Signs สำหรับพยาบาลในการสังเกตอาการและรายงานแพทย์ได้อย่างเหมาะสมและรวดเร็ว จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นในการดูแลผู้ป่วย เช่น Monitor EKG NIBP Infusion pump
30
แผนการพัฒนา - เพิ่ม Lab CRP เพื่อช่วยในการวินิจฉัย - พัฒนาระบบ Refer การ Consult แพทย์เฉพาะ ทางโรงพยาบาลศูนย์ชลบุรี ใน Case Severe Sepsis , Septic Shock
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.