ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
2
บทบาทการสื่อสารกับงานสร้างเสริมสุขภาพ
ระบบสื่อ
3
Definitions of Health Literacy
What is health literacy? Definitions of Health Literacy US Department of Health and Human Services, Healthy People 2010 “ Health literacy is the degree to which individuals have the capacity to obtain, process, and understand basic health information and services needed to make appropriate health decisions.” American Medical Association “ A constellation of skills, including the ability to perform basic reading and numerical tasks required to function in the health care environment.” DRAFT Not for Citation or Circulation
4
Health literacy depends on both individual and systemic factors
1. Communication skills of lay people and professionals 2. Patients' knowledge of health topics causes of disease, risk factors, when to seek care 3. Culture how people think about health, disease and treatment 4. Demands of the healthcare and public health systems how to access care and services, payment, insurance 5. Demands of the context and particular situation stress, physical or mental impairment, unfamiliarity DRAFT Not for Citation or Circulation
5
แนวคิดระบบสื่อสุขภาวะของ สสส.
6
ใช้สื่อสารการตลาดเพื่อ รณรงค์สุขภาวะ ‘Media for Promoting Health’
สื่อรณรงค์สนับสนุน รายการทีวี สื่อความร่วมมือ ใช้สื่อสารการตลาดเพื่อ รณรงค์สุขภาวะ ‘Media for Promoting Health’ ส่งเสริมระบบสื่อที่มีสุขภาวะ ‘Promoting for Healthy Media’ สื่อเด็กเยาวชน สื่อของกลุ่มขาดโอกาส สื่อศิลปวัฒนธรรม สื่อสุขภาวะทางปัญญา สื่อวิชาชีพ
7
Changing times- Need structural changes
8
สถานการณ์การใช้สื่อของเด็กและเยาวชน
ช่องทางสื่อยุคหลอมรวม ในอนาคต ทีวี > 1,000 ช่อง สถานีวิทยุ > 6,000 คลื่น สื่อออนไลน์ไม่จำกัด เด็กใช้สื่อ 5 -7 ชม./วัน เข้าถึงสื่อไม่ปลอดภัยได้ง่าย ภาวะเนือยนิ่ง 13 ชม./วัน โรคอ้วน 13% ทานขนมอยู่หน้าจอ 37% คนไทยใช้เวลากับสื่อออนไลน์ เฉลี่ย 5.07 ชม./วัน ใช้ผ่านมือถือ 3.04 ชม./วัน 48% ของผู้ใช้เป็นเยาวชน เด็กขาดทักษะเท่าทันสื่อ เยาวชน 48% เคยถูก cyber bullying เด็ก 29% ถูกคุกคามทางเพศผ่านสื่อออนไลน์ ความตื่นตัวของการปฏิรูปสื่อในร่างรธน. สปช. การปฏิรูป + กำกับดูแลกันเองของสื่อ สื่อสร้างสรรค์เพื่อเด็ก < 5 % ผู้ผลิตสื่อขาดทักษะ ทำให้ ประชาชนเป็นเพียงผู้บริโภคแบบ นิ่งเฉย
9
มหาภัยท่องเน็ตเด็กหญิงเสียตัว ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 20 พฤศจิกายน พ. ศ
มหาภัยท่องเน็ตเด็กหญิงเสียตัว ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
10
นอกจากนี้ในกลุ่มวัยรุ่นชาย 38.8% เคยนัดพบคนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต
ขณะที่กลุ่มวัยรุ่นหญิง 22.4% เคยนัดพบคนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต อีกทั้งพบว่าในกลุ่มวัยรุ่นชายที่เคยสนทนาบนอินเทอร์เน็ต 26.6% เคยมีเพศสัมพันธ์กับคนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต ขณะที่กลุ่มวัยรุ่นหญิง 8.2% เคยมีเพศสัมพันธ์กับคนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต และ 59.4% ของวัยรุ่นหญิง (ที่มีเพศสัมพันธ์กับคนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต) ไม่เต็มใจต่อการมีเพศสัมพันธ์กับคนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เยาวชนส่วนใหญ่ 60.1% เห็นว่าแนวโน้มความรุนแรงของอาชญากรรมทางโลกออนไลน์ในอนาคตเพิ่มขึ้น "ที่น่าห่วงคือเด็ก 1 ใน 6 คนที่เล่นอินเทอร์เน็ต เคยมีเพศสัมพันธ์กับคนแปลกหน้าที่รู้จักทางออนไลน์ทั้งเต็มใจและไม่เต็มใจ"
12
“Togetherness”
14
‘ยุคสื่อหลอมรวม’ ภูมิทัศน์สื่อไทย ปี 2012-2014
สื่อใหม่ (new media) และสื่อดั้งเดิม (old media) จะหลอมรวมกัน ตั้งแต่ กระบวนการผลิตเนื้อหา จนถึงกระบวนการบริโภคสื่อ
17
Digital literacy & citizenship ร่วมดูแลโดยภาคผู้ประกอบการ
แนวทางคุ้มครองเด็กและเยาวชนในสื่อออนไลน์ ร่วมดูแลโดยภาคสังคม Digital literacy & citizenship Parental guidance creative activities ร่วมดูแลโดยภาคผู้ประกอบการ Game, application กำกับ ดูแล โดยรัฐ เช่น สิงคโปร์ จีน ใช้ legal sanction และ ใช้ระบบ blocking และ filtering เช่น สหรัฐอเมริกา ใช้ code of conducts ระบบ rating และสนับสนุนการผลิตสื่อ เพื่อการเรียนรู้ต่างๆ เช่น กลุ่มสหภาพยุโรป ใช้การสร้างวัฒนธรรมการรู้เท่าทันสื่อ และ ส่งเสริมบทบาทของครอบครัว ชุมชน
18
ระดับของยุทธศาสตร์การสื่อสาร
3 2 1
20
“ยุคสื่อของผู้ใช้” ผู้ใช้เป็นผู้กำหนดความรู้ กำหนดวาระข้อมูลข่าวสารของสังคม วันนี้ “ชาวเน็ต” (netizens) กลายมาเป็นผู้มีอิทธิพลตัวจริง
23
วิสัยทัศน์และทิศทางยุทธศาสตร์
ภูมิทัศน์สื่อใหม่ ยุคสื่อหลอมรวม ยุคผู้ใช้ผลิตประสบการณ์ ส่งเสริม Digital Citizenship มีทักษะสื่อสาร ควบคู่ความรับผิดชอบ สร้างพลเมืองตื่นรู้ บนฐานปัญญา และจริยธรรม เพื่อทันกระแสการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 และ media culture
24
“การเดินทางแห่งความสุข”
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.