ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กระบวนการสร้างองค์ความรู้แบบ Trip RIP
อาจารย์ ดร.ชลายุทธ์ ครุฑเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
4
Trip RIP กระบวนการคิดและการเรียนรู้ที่นำมาใช้ในการสร้างองค์ความรู้ ตามทฤษฎี Constructivism + Investigative Approach in Science ใช้หลักการสร้างองค์ความรู้ที่ยึดหลัก Constructivist Learning ของ Piaget
5
ทฤษฎีพัฒนาการการเรียนรู้ของ Piaget
6
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget
ธรรมชาติ ของมนุษย์ รวมกระบวนการเข้าเป็นระบบ เห็น + คว้า ทำได้พร้อมกัน Organization Adaptation ปรับตัวเข้ากับ Env. การดูดซึม (assimilation) ดูดซึมซับเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็น Exp. และแสดง Beh.ต่อสิ่งใหม่ เพราะสิ่งใหม่เป็นส่วนหนึ่งของ Exp. เดิม จับของใส่ปาก ทุกอย่างเอาเข้าปาก (เด็ก 1 ขวบ) ประสบการณ์มาก ๆ Schema, Structure ในสมอง การปรับเปลี่ยน (Accommodation) ปรับความเข้าใจเดิมให้เข้ากับสิ่งใหม่ กระดิ่งเอาเข้าปาก เขย่าให้เกิดเสียง
7
เด็ก/มนุษย์ Exp. Assimilation Accommodation Equilibration พัฒนาการทางสติปัญญา
8
การเรียนรู้ (Learning)
มีความหมาย 2 ประการ 1 กระบวนการเรียนรู้ (learning process) หมายถึงการดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนหรือการใช้วิธีการต่างๆ ที่ช่วยให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ 2 ผลการเรียนรู้ (learning outcome) ได้แก่ความรู้ความเข้าใจในสาระต่างๆ ความสามารถในการกระทำ การใช้ทักษะกระบวนการต่างๆ รวมทั้งความรู้สึกหรือเจตคติอันเป็นผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเรียนรู้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ 4
9
แผนภาพ กระบวนการเรียนรู้ตามความเชื่อในอดีต
สมอง สิ่งเร้า แสดงออก ผลการเรียนรู้ แผนภาพ กระบวนการเรียนรู้ตามความเชื่อในอดีต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ 5
10
โครงสร้างทางสติปัญญา
ทฤษฏีการสร้างความรู้ (Piaget & Vygotsky) กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทางปัญญา (cognitive process) การดูดซึม (assimilation) ผลการเรียนรู้ สิ่งเร้า แสดงออก โครงสร้างทางสติปัญญา (schema) แผนภาพ กระบวนการเรียนรู้โดยการดูดซึม (assimilation) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ 7
11
โครงสร้างทางสติปัญญา
กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทางปัญญา (cognitive process) ผลการเรียนรู้ สิ่งเร้า แสดงออก โครงสร้างทางสติปัญญา สภาวะไม่สมดุล (disequilibrium) แผนภาพ สภาวะไม่สมดุล (disequilibrium) ในกระบวนการเรียนรู้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ 8
12
โครงสร้างทางสติปัญญา
กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทางปัญญา (cognitive process) โครงสร้างทางสติปัญญา (schema) ผลการเรียนรู้ สิ่งเร้า แสดงออก กระบวนการปรับ สภาวะให้สมดุล (accommodation) แผนภาพ กระบวนการปรับสภาวะให้สมดุล (accommodation) ในกระบวนการเรียนรู้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ 9
14
กระบวนการ Trip RIP ประกอบด้วยกระบวนการใหญ่ ๆ 3 กระบวนการ คือ
1. กระบวนการ Regulating 2. กระบวนการ Investigating 3. กระบวนการ Producing
15
Trip = การเดินทางที่ต้องมีการวางแผน
Trip = three R I P Participating Processing Presenting Recalling Relating Refining Inquiring Interacting Interpreting
16
Trip = three R I P Participating Recalling Processing Relating
Presenting Recalling Relating Refining Inquiring Interacting Interpreting
17
การปรับความรู้ความเข้าใจ การแสวงหาความรู้ใหม่
Recalling Relating Refining reflection reflection การแสวงหาความรู้ใหม่ Inquiring Interacting Interpreting reflection reflection การสร้างองค์ความรู้ Participating Processing Presenting reflection
18
การประเมิน Trip RIP ประเมินตามขั้นตอนใหญ่ของ R I P
ในลักษณะของการประเมิน Rubrics (ใช้ PPT บรรยายของ ผศ.ดร.มาเรียม นิลพันธ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร)
19
การกำหนดเกณฑ์การประเมินRubrics
20
Rubrics คืออะไร เป็นเครื่องมือสำหรับจัดระบบและแปลความข้อมูล
ที่ได้จากการสังเกตการเรียนรู้ / ชิ้นงานของนักเรียน เป็นเครื่องมือเพื่อวัดภาระงานที่เป็นอัตนัยให้มีความเป็นปรนัย เป็นเกณฑ์ที่ใช้ตัดสินการปฏิบัติงาน หรือผลการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือในการจัดระดับคุณภาพของผลสัมฤทธิ์หรือ พัฒนาการ 20
22
ประเภทของ Rubrics Rubrics Analytic Rubrics Holistic Rubrics
Formative evaluation Rubrics Holistic Rubrics Summative evaluation 22
23
Rubrics มีลักษณะอย่างไร
ประกอบด้วย เกณฑ์ / ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพและคำอธิบายระดับคุณภาพ 23
24
กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ตัวอย่าง Rubrics เกณฑ์ / ประเด็นการประเมิน ดีเยี่ยม น่าพอใจ กำลังพัฒนา ต้องปรับปรุง ร่วมในการอภิปรายกลุ่ม เอาใจใส่ในทุกประเด็นที่อภิปราย ให้ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ปัญหา เอาใจใส่บางประเด็นที่อภิปราย ร่วมให้ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขเป็นบางครั้ง หรือร่วมในการปรับแต่งข้อแนะนำที่ผู้อื่นเสนอ เอาใจใส่บางประเด็นที่อภิปราย เป็นบางครั้งไม่ให้ข้อเสนอแนะและแนวทางปัญหาแต่ร่วมในการปรับแต่งข้อแนะนำที่ผู้อื่นเสนอ ไม่ร่วมอภิปราย และไม่พยายามในร่วมปรับแต่งข้อแนะนำที่ผู้อื่นเสนอ กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 24
25
การสร้าง Rubrics กำหนดภาระงาน : ผลผลิต กระบวนการ การปฏิบัติ
กำหนดภาระงาน : ผลผลิต กระบวนการ การปฏิบัติ กำหนดประเด็นการประเมิน เลือกประเภทเกณฑ์การประเมินที่ต้องการใช้ : Holistic ? หรือ Analytical ? กำหนดจำนวนระดับคุณภาพ อธิบายระดับคุณภาพของแต่ละประเด็นการประเมิน 25
26
การสร้าง Rubrics(ต่อ)
6. กำหนดค่าน้ำหนักของแต่ละประเด็นการประเมิน กรณีเลือกใช้แบบ Analytical rubric 7. วิพากษ์ร่วมกันกับเพื่อนครู / นักเรียน 8. ทดลองใช้และปรับปรุง 26
27
แนวทางการให้คะแนน (Rubrics)
เกณฑ์ (Criteria) ระดับน้ำหนักของคะแนน (Scales) คำอธิบายคุณภาพงาน (Performance Description) แนวการให้คะแนน (Scoring Guides) ผลงานตัวอย่าง (Exemplars)
30
ตัวอย่าง : เกณฑ์การให้คะแนน แบบRubrics
30
31
การนำเสนอผลงานของนักเรียน
ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน น้ำหนัก 4 3 2 1 วิธีการนำเสนอ การนำเสนอมีลำดับขั้นตอนน่าสนใจ และใช้สื่อประกอบได้เหมาะสม การนำเสนอมีลำดับขั้นตอน น่าสนใจ แต่ใช้สื่อไม่เหมาะสม การนำเสนอมีลำดับขั้นตอน แต่ไม่น่าสนใจ การนำเสนอไม่เป็นลำดับขั้นตอน 31
32
การนำเสนอผลงานของนักเรียน(ต่อ)
ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน น้ำหนัก 4 3 2 1 การใช้ภาษา สื่อความหมายเข้าใจชัดเจนไม่วกวน และออกเสียงอักขระถูกต้องทุกแห่ง สื่อความหมายได้เข้าใจชัดเจนแต่ออกเสียงอักขระไม่ถูกต้องบางแห่ง สื่อความหมายได้เข้าใจ แต่ออกเสียงอักขระไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ สื่อ ความ หมาย ไม่เข้าใจ 32
33
การนำเสนอผลงานของนักเรียน(ต่อ)
ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน น้ำหนัก 4 3 2 1 บุคลิกท่าทาง มีความเชื่อมั่น ลีลาท่าทางเหมาะสม การแต่งกายเรียบร้อย มีความเชื่อมั่น ลีลาท่าทางเหมาะสม การแต่งกายไม่เรียบร้อย มีความเชื่อมั่น ลีลาท่าทางเหมาะสม การแต่งกายไม่เหมาะสม ขาดความเชื่อมั่น 33
34
การนำเสนอผลงานของนักเรียน(ต่อ)
ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน น้ำหนัก 4 3 2 1 การประสานสายตา ประสานสายตาผู้ฟังตลอดเวลาโดยนานๆ ครั้งที่จะดูบันทึกที่จดไว้ ประสานสายตาผู้ฟังค่อนข้างมากแต่บ่อยครั้งที่จะดูบันทึกที่จดไว้ ประสานสายตาผู้ฟังบ้าง แต่ส่วนใหญ่จะอ่านบันทึกที่จดไว้ อ่านบันทึกที่จดไว้ โดยไม่ประสานสายตากับผู้ฟังเลย 34
35
ระดับคุณภาพ คะแนน 21 – 30 หมายถึง ดี คะแนน 11 – 20 หมายถึง พอใช้
คะแนน 31 – 40 หมายถึง ดีมาก คะแนน 21 – 30 หมายถึง ดี คะแนน 11 – 20 หมายถึง พอใช้ คะแนน ต่ำกว่า 10 หมายถึง ปรับปรุง 35
36
การออกแบบประเมินชิ้นงาน /
เกณฑ์การประเมิน กำหนดภาระ งานอย่างไร การออกแบบประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน ออกแบบอย่างไร ใครเป็นผู้ประเมินบ้าง ลักษณะผลงาน /ภาระงาน / ชิ้นงานมีลักษณะอย่างไร สร้างเกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric) อย่างไร
39
การทดลอง การสาธิต ละคร วีดิทัศน์ ฯลฯ
ชิ้นงาน/ภาระงาน ชิ้นงาน ได้แก่ 1.งานเขียน เช่น เรียงความ จดหมาย โคลงกลอน การบรรยาย การเขียนตอบ ฯลฯ 2.ภาพ / แผนภูมิ เช่น แผนผัง แผนภูมิ ภาพวาด กราฟ ตาราง ฯลฯ 3.สิ่งประดิษฐ์ เช่น งานประดิษฐ์ งานแสดงนิทรรศการ หุ่นจำลอง ฯลฯ ภาระงาน ได้แก่ การพูด / รายงานปากเปล่า เช่น การอ่าน กล่าวรายงาน โต้วาที ร้องเพลง สัมภาษณ์ บทบาทสมมติ เล่นดนตรี การเคลื่อนไหวร่างกาย ฯลฯ งานที่มีลักษณะผสมผสานกันระหว่างชิ้นงาน / ภาระงาน ได้แก่ การทดลอง การสาธิต ละคร วีดิทัศน์ ฯลฯ
40
มาตรฐานการออกแบบภาระงาน
1. ผู้เรียนได้ใช้องค์ความรู้ที่ลึกซึ้ง 2. ผู้เรียนได้ใช้ทักษะ / กระบวนการคิดชั้นสูง 3. ภาระงานสัมพันธ์สอดคล้องกับสังคมอาชีพภายนอก 4. ส่งเสริมการปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียน 5. ให้การสนับสนุนทางจิตวิทยา / สังคมเพื่อความสำเร็จของผู้เรียน
41
ขั้นตอนการกำหนดภาระงาน
กำหนดเป้าหมาย สร้างสถานการณ์ เขียนคำชี้แจง ตัดสินใจเลือกผู้ติ /ชมหรือผู้ประเมิน กำหนดแนวทางการให้คะแนน ทบทวนและปรับปรุงภาระงาน
42
สรุปรวมยอดและตรงตามมาตรฐาน
เกณฑ์ การพิจารณาผลงาน / ชิ้นงาน / ภาระงาน สรุปรวมยอดและตรงตามมาตรฐาน เกิดความรู้ใหม่และใช้ความรู้สร้างชิ้นงาน ใช้ความคิดระดับสูงและสร้างสรรค์ สภาพบริบทจริงและเหมือนจริง ดึงดูด น่าสนใจ ชัดเจน มีขั้นตอน มีการสื่อสารแลกเปลี่ยนระหว่างกัน 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6
43
เกิดผลอย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงดีขึ้น ผู้เรียนมีโอกาสเลือกและพึ่งตนเอง
เกณฑ์ประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน เกิดผลอย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงดีขึ้น ผู้เรียนมีโอกาสเลือกและพึ่งตนเอง เป็นไปได้ในบริบทของโรงเรียน / ห้องเรียน ชวนคิด ท้าทาย อิสระ ยุติธรรม มีเกณฑ์และการให้คะแนน เปิดโอกาสทำงานเดี่ยวหรือกลุ่ม 7 8 9 10 11 12
48
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.