ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทบาทพันธกิจของศูนย์คุณธรรม
Moral Book Application
2
ศูนย์คุณธรรม(องค์การมหาชน)
เป็นหน่วยงานของรัฐในกำกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งศูนย์คุณธรรม พ.ศ. 2554 เมื่อ วันที่ 9 มิถุนายน 2554 เป็นองค์การมหาชนลำดับที่ 35 ในจำนวนองค์การมหาชนทั้งสิ้น 39 แห่ง สถานที่ตั้งหน่วยงาน 69 อาคารวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ชั้น 16–17 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 2
3
ศูนย์คุณธรรมเป็นองค์กรกลางระดับชาติ
วิสัยทัศน์ ศูนย์คุณธรรมเป็นองค์กรกลางระดับชาติ เพื่อขับเคลื่อนคุณธรรมความดีสู่สังคมสันติสุข
4
พันธกิจ ๑. พัฒนานวัตกรรมส่งเสริมคุณธรรม
๒. ส่งเสริมการพัฒนาและรับรองมาตรฐานองค์กรคุณธรรม ๓. ส่งเสริมความร่วมมือเครือข่ายประชารัฐ
5
ยุทธศาสตร์ศูนย์คุณธรรม
พัฒนาและรับรองมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม พัฒนานวัตกรรมองค์ความรู้ด้านคุณธรรมความดี ส่งเสริมความร่วมมือประชารัฐเพื่อขับเคลื่อนงานด้านคุณธรรมความดี สื่อรณรงค์เพื่อการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาความเข้มแข็งของศูนย์คุณธรรมตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
6
ภารกิจ สมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านคุณธรรม
ให้มีบทบาทและศักยภาพในการขับเคลื่อนคุณธรรมความดีตลอดจนประสานเชื่อมโยงให้เกิดความร่วมมือ เพื่อรวมพลังขับเคลื่อนสังคมคุณธรรมตามบทบาทและภารกิจของแต่ละเครือข่าย เวทีกลางของเครือข่ายขับเคลื่อนคุณธรรมความดีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตามความก้าวหน้า กำหนดทิศทางการขับเคลื่อนวาระด้านคุณธรรมความดี ผลิตเผยแพร่สื่อด้านคุณธรรมความดีที่หลากหลายช่องทางให้กับเครือข่ายทางสังคมและสาธารณะ สื่อส่งเสริมคุณธรรม ส่งเสริมการขับเคลื่อนสังคมคุณธรรมเชิงพื้นที่ พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านคุณธรรม ส่งเสริมสนับสนุนเครือข่ายทางสังคม สมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ประสานงานเชื่อมโยงกับหน่วยงานองค์กรเครือข่ายทั้งในระดับพื้นที่ และส่วนกลางในการพัฒนาเป้าหมายและขับเคลื่อนสังคมคุณธรรม ผลิตเผยแพร่สื่อด้านคุณธรรมความดีที่หลากหลายช่องทางให้กับเครือข่ายทางสังคมและสาธารณะ ภารกิจ
7
ตัวอย่างผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
องค์กรภาคีเข้าร่วมกิจกรรม 39 องค์กร ผู้เข้าร่วมกว่า 5,000 คน แผนพัฒนาความซื่อตรงแห่งชาติ การขับเคลื่อนปฏิญญาทั้งในระดับจังหวัด ระดับ อปท และระดับองค์กร ดัชนีชี้วัดความซื่อตรงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมัชชาคุณธรรม มีเครือข่ายที่ได้รับการสนับสนุน จำนวน 241 องค์กร เป็นเครือข่ายโรงเรียน เครือข่ายชุมชนหน่วยงาน วัด และมหาวิทยาลัย และมีผู้ได้รับประโยชน์ประมาณ 39,000 คน เกิดการพัฒนายกระดับให้เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ จำนวน 12 แห่ง ใน 4 ภาค สามารถทำหน้าที่ขยายผลขับเคลื่อนคุณธรรม จริยธรรม การสนับสนุนเครือข่าย หลักสูตรพัฒนาศักยภาพด้านคุณธรรมความดี สำหรับ ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ เด็กและเยาวชน จำนวน 7 หลักสูตร งานวิจัย และองค์ความรู้ในการส่งเสริมคุณธรรมความดี จำนวนกว่า 240 เรื่อง การพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม สารคดีสั้น ดอกไม้บ้านสื่อสารความดี กว่า 240 เรื่อง ช่องทางสื่อสารที่หลากหลาย ทั้ง TNN2 YouTube Facebook website applications และEnews letter สื่อส่งเสริมคุณธรรม จังหวัดส่งเสริมคุณธรรมนำร่อง ได้แก่ บุรีรัมย์ พิจิตร ราชบุรี พัทลุง และร้อยเอ็ด จังหวัดส่งเสริมคุณธรรมขยายผลได้แก่ ศรีสะเกษ หนองคาย พะเยา และอ่างทอง การขับเคลื่อนคุณธรรมเชิงพื้นที่
8
แนวทางความร่วมมือ Moral Book Application
9
ศูนย์ดำรงธรรม – แหล่งที่ทรงไว้ซึ่งความยุติธรรม
ภารกิจ 7 ข้อ รับเรื่องราวความเดือดร้อนของประชาชนในทุกเรื่อง ตลอด 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ ประเมินเรื่องราว เหตุการณ์ ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือในเบื้องต้นอย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ ประสานการปฏิบัติและส่งต่อเรื่องราวให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการ รายงานผลการปฏิบัติตามสายการบังคับบัญชาทันทีที่ได้รับเรื่องราว ระหว่างการปฏิบัติและภายหลังภารกิจเสร็จสิ้นแล้ว ประชาสัมพันธ์ผลงานให้ประชาชนทั่วไปทราบอย่างแพร่หลาย ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมเชิดชูคนดีและให้ความรู้ทางศีลธรรม จริยธรรมแก่ประชาชนทั่วไป ดำเนินการอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
10
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ. ศ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2525 หมายถึง ความประพฤติประพฤติชอบ ธรรมในระดับศีล แต่ถ้าจะได้ความหมายชัดเจนจึงควรสรุปว่า ศีลธรรม หมายถึง หลักแห่งความประพฤติดีประพฤติชอบอันเนื่องมาจากคำสอนทางศาสนา และเป็นศัพท์บัญญัติที่ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า morals หรือ morality ศีลธรรม–
11
จริยธรรม– กรอบหรือแนวทางอันดีงามที่พึง ปฏิบัติ ซึ่งกำหนดไว้สำหรับสังคม
เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย งดงาม และสงบร่มเย็นเป็นสุข ความรักสามัคคี ความอบอุ่นมั่นคง และปลอดภัยในการดำรงชีวิต จริยธรรม–
12
วิธีการปลูกฝัง ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
การบรรยาย การมีส่วนร่วมในโครงการ/กิจกรรม สื่อต่างๆ การยกย่องเชิดชูคนดี
13
การสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม
การละเว้นการใช้ประโยชน์จากตำแหน่งหน้าที่ (Conflict of Interest) มโนสุจริต (Integrity) ความพร้อมรับผิด (Accountability) ความเปิดเผยและโปร่งใส (Openness/Transparency) ความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน จุดเน้น
14
วิธีการสร้างมาตรฐานจริยธรรมในองค์การ
1. การฝึกอบรมด้านจริยธรรม 3. การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง 4. การกำหนดจรรยาบรรณอย่างเป็นทางการ 2. การปกป้องผู้เปิดโปรงความไม่ถูกต้อง
15
คุณธรรม 7 ประการ สำหรับผู้ปฏิบัติงาน คือ
จริยธรรมในการปฏิบัติงาน ศูนย์ดำรงธรรม คุณธรรมจริยธรรมสำคัญที่ควรปลูกฝังตามพระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 3 ประการ คือ 1. สุจริตต่อบ้านเมือง 2. สุจริตต่อประชาชน 3. สุจริตต่อหน้าที่ คุณธรรม 7 ประการ สำหรับผู้ปฏิบัติงาน คือ 1. การมีศรัทธาที่ถูกต้องความอุตสาหะพากเพียรที่ต่อเนื่อง 2. ความระลึกรู้เท่าทัน 3. ไม่ประมาท 4. ความตั้งใจมั่นคง 5. ปัญญาความรู้ชัดในงานที่ปฏิบัติ 6. ความตั้งใจจริงที่จะทำให้สำเร็จ 7. ความมีสติรอบคอบ
16
ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน)
Moral Book Application
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.