ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
วาระการประชุมประจำเดือน พฤศจิกายน 2560 สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม
2
รายละเอียด วาระการประชุม
รายละเอียดตัวชี้วัด กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ รอบที่ 1/2561 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ อื่น ๆ รายละเอียด วาระการประชุม
3
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20)
ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จในการยกระดับการเลี้ยงสัตว์ ให้มีระบบการป้องกัน โรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ 5 เกณฑ์การให้คะแนน : รอบการประเมินครั้งที่ 1/2561 เป้าหมาย 260 ราย (ไก่พื้นเมือง 30 ราย อำเภอละ 10 ราย สัตว์ชนิดอื่นๆ 230 ราย ) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน 1 ส่วนที่ 1 : ดำเนินการอบรมเกษตรกรเรื่องระบบการป้องกันโรค และการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมได้มากกว่าหรือเท่ากับ 300 ราย ส่วนที่ 2 : ส่งรายงานการรับรองฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรค และการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม ให้ สคบ. ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป ส่วนที่ 3 : จำนวนฟาร์มที่ได้รับรองฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงที่เหมาะสม ได้น้อยกว่าร้อยละ 35 ของเป้าหมาย ได้มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 35 ถึงร้อยละ 40 ของเป้าหมาย 2 ได้มากกว่าร้อยละ 40 ถึงร้อยละ 50 ของเป้าหมาย 3 ได้มากกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมาย
4
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20)
จัดอบรมเกษตรกร เป้าหมาย 300 ราย (อำเภอละ 100 ราย) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20)
5
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20)
ขอรายชื่อเกษตรกร รอบที่ 1/2561 เพื่อเตรียมการอบรมและยื่นขอรับรอง อย่างน้อย 50% (ขอพิกัดทุกราย) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) อำเภอ ไก่พื้นเมือง สัตว์ชนิดอื่นๆ รวม เมือง 10 77 87 อัมพวา บางคนที 76 86 30 230 260 แบบฟอร์มที่ใช้ พป 1-6 คำสั่งกรมฯ ที่ 720/2560 แต่งตั้งที่ปรึกษาเกษตรกร คำสั่งกรมฯ ที่ 965/2560 คณะผู้ตรวจประเมิน
6
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20)
ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของจำนวนเกษตรกรที่ผ่านการรับรองสถานที่เลี้ยงไก่ชนที่มีระบบป้องกันโรค น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ 5 เป้าหมายอำเภอละ 35 ราย : สมุทรสงครามมี 3 อำเภอ = 105 ราย (ซ้ำรายเดิมของปีที่แล้วได้) เกณฑ์การให้คะแนน : รอบการประเมินครั้งที่ 1/2561 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) กำหนดส่งแบบ กช 3 (อำเภอ) ภายในวันที่ 25 มกราคม 2560 และกดพิกัดทุกราย ส่วนที่ 1 ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน 1 ผลการดำเนินงานได้ต่ำกว่าร้อยละ 30 ของเป้าหมาย 2 ผลการดำเนินงานได้ต่ำกว่าร้อยละ ของเป้าหมาย 3 ผลการดำเนินงานได้ต่ำกว่าร้อยละ 35 ขึ้นไป 4 ผลการดำเนินงานได้ต่ำกว่าร้อยละ ของเป้าหมายและระดับภูมิคุ้มกันไก่พื้นเมืองไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 5 ผลการดำเนินงานได้ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมายและระดับภูมิคุ้มกันไก่พื้นเมืองไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 คะแนนการส่งผลงานและความครบถ้วนของรายงาน (0.5 คะแนน) คะแนนที่ได้ = จำนวนเดือนที่ส่งผลงาน x 0.5 (หากผลการดำเนินงานได้ตามเป้าหมายแต่ผลของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคนิวคาสเซิลไม่ได้ คะแนนที่ได้จะอยู่ที่ระดับ 3) ส่วนที่ 2 จำนวนเดือนในรอบการประเมิน
7
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20)
ชื่อตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จในการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ 10 (จังหวัดสมุทรสงคราม สมุทรสาคร ภูเก็ตและกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 10 จังหวัดอื่นๆ ร้อยละ 5) เกณฑ์การให้คะแนน : รอบการประเมินครั้งที่ 1/2561 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดดำเนินงาน คะแนนเต็ม ร้อยละของ อปท.ที่สามารถดำเนินการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า พิจารณาข้อมูลตามหลักเกณฑ์พื้นที่ปลอดโรคระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 31 มีนาคม 2561 ไม่มีพื้นที่ A ทั้งจังหวัด ได้ 0 คะแนน เป็นพื้นที่ระดับ A น้อยกว่าร้อยละ 40 และ/หรือมีพื้นที่ C ได้ 1 คะแนน เป็นพื้นที่ระดับ A น้อยกว่าร้อยละ 40 แต่ไม่มีพื้นที่ C ได้ 2 คะแนน เป็นพื้นที่ระดับ A ตั้งแต่ร้อยละ 40 ขึ้นไป และไม่มีพื้นที่ C ได้ 4 คะแนน 4 พื้นที่ B ของสมุทรสงคราม คือ ต.บางสะแก และ ต.ลาดใหญ่
8
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20)
ชื่อตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จในการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เกณฑ์การให้คะแนน : รอบการประเมินครั้งที่ 1/2561 (ต่อ) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดดำเนินงาน คะแนนเต็ม การดำเนินงานตามโครงการเฝ้าระวังโรคพิษสุนัขบ้าเชิงรุก พิจารณาจำนวนตัวอย่างที่ส่งตรวจในระบบ Thairabies.net (1 ตุลาคม 2560 – 31 มีนาคม 2561) (เป้าหมาย 35 ตัวอย่าง) ดำเนินการเก็บตัวอย่างได้ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายไม่ถึงร้อยละ 40 ได้ 0 คะแนน ดำเนินการเก็บตัวอย่างได้ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 40 ได้ 2 คะแนน ดำเนินการเก็บตัวอย่างได้ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 40 ได้ และเป็นตัวอย่างสุนัข-แมว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ได้ 3 คะแนน 3 การดำเนินงานตามมาตรการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคพิษสุนัขบ้า พิจารณาผลการผ่าตัดทำหมันตามเป้าหมายของกรมปศุสัตว์ จากระบบ e-operation (1 ตุลาคม 2560 – 31 มีนาคม 2561) (เป้าหมายผ่าตัดทำหมันสุนัข-แมว 600 ตัว) ไม่มีผลการผ่าตัดทำหมันได้ 0 คะแนน ผ่าตัดทำหมันได้น้อยกว่าร้อยละ 40 ของเป้าหมาย ได้ 1 คะแนน ผ่าตัดทำหมันได้ตั้งแต่ร้อยละ 40 แต่ไม่ถึงร้อยละ 50 ของเป้าหมาย ได้ 2 คะแนน ผ่าตัดทำหมันได้ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขี้นไป ของเป้าหมายได้ 3 คะแนน
9
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20)
ชื่อตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จในการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป้าหมายการเก็บตัวอย่างหัวสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) อำเภอ เป้าหมาย สุนัข แมว สัตว์ชนิดอื่น รวม เมือง 11 2 - อัมพวา 13 1 (หนู) 5 บางคนที 35 6 1 9 การดำเนินงานตามมาตรการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคพิษสุนัขบ้า พิจารณาผลการผ่าตัดทำหมันตามเป้าหมายของกรมปศุสัตว์ จากระบบ e-operation กิจกรรม สุนัข แมว รวม (ตัว) 1. สร้างภูมิคุ้มกันโรคพิษสุนัขบ้า 7000 3000 10000 2. ควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า 300 600 - เพศผู้ 150 - เพศเมีย
10
ควบคุมประชากรโดยการผ่าตัดทำหมัน (เน้นสัตว์ไม่มีเจ้าของ)
โครงการประชารัฐร่วมใจกำจัดภัยโรคพิษสุนัขบ้าและควบคุมประชากรสุนัข-แมว ปีงบประมาณ 2561 ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การดำเนินโครงการ สัตว์ปลอดโรคคน ปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณฯ (e-operation) ควบคุมประชากรโดยการผ่าตัดทำหมัน (เน้นสัตว์ไม่มีเจ้าของ) เป้าหมาย ( 1000 ตัว) ผู้ปฏิบัติงาน สุนัข 700 สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดและอำเภอ ร่วมออกหน่วยกับสัตวแพทย์จากหน่วยงานอื่นๆ เช่น นิสิต นักศึกษา สัตวแพทย์จิตอาสา หรือสัตวแพทย์ จากหน่วยงานของรัฐและเอกชน มีคะแนน CE จาก ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางสัตวแพทย์ (เริ่ม ตุลาคม 60 – กันยายน 61) - เพศผู้ 210 - เพศเมีย 490 แมว 300 90
11
ติดตามประสานงานการดำเนินโครงการ 148 ครั้ง
โครงการประชารัฐร่วมใจกำจัดภัยโรคพิษสุนัขบ้าและควบคุมประชากรสุนัข-แมว ปีงบประมาณ 2561 ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การดำเนินโครงการ สัตว์ปลอดโรคคน ปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ติดตามประสานงานการดำเนินโครงการ 148 ครั้ง เมือง = ครั้ง อัมพวา = 49 ครั้ง บางคนที = 50 ครั้ง ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณฯ (e-operation)
12
เรื่องแจ้งเพื่อทราบ และปฏิบัติ
อำเภอ นิวคาสเซิล อหิวาต์เป็ดไก่ เมือง 1600 100 อัมพวา 200 บางคนที 1700 รวม 4900 500 โครงการรณรงค์ทำวัคซีนป้องกันโรคในไก่พื้นเมือง ปี 2561 (เดือนธันวาคม 2560) โครงการซ้อมแผนการปฏิบัติงานและมาตรการเตรียมความพร้อมการเฝ้าระวัง และการควบคุมโรคไข้หวัดนกระดับจังหวัด จังหวัดสมุทรสงคราม ปีงบประมาณ 2561 เจ้าหน้าที่ สนง.ปศจ. สมุทรสงคราม รวม 18 ท่าน กำหนดการอบรม วันพุธที่ 13 ธันวาคม 2560 โครงการฝึกอบรมเพื่อสร้างและพัฒนาศักยภาพอาสาปศุสัตว์ด้านโรคพิษสุนัขบ้า ปีงบประมาณ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การดำเนินโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระ ปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี จำนวนอาสา = 76 ราย กำหนดการอบรม วันศุกร์ที่ 15 ธันวาคม 2560 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ และปฏิบัติ
13
เรื่องแจ้งเพื่อทราบ และปฏิบัติ
โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน 14 ธันวาคม 2560 ณ วัดดาวโด่งดุสิตาราม หมู่ที่ 4 ต.คลองเขิน อ.เมืองสมุทรสงคราม หนังสือกรมปศุสัตว์ ที่ กษ /ว ลวท. 20 พ.ย. 60 เรื่อง เข้มงวดมาตรการควบคุมโรคปากและเท้าเปื่อยในช่วงอากาศ เปลี่ยนแปลง แจ้งอำเภอแล้ว ตามหนังสือที่ สส0008/875 ลวท. 9 พ.ย. 60 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ และปฏิบัติ
14
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.